Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เปนหลักฐานที่บงชี้วาตลาดเชาที่ดินมีสวนสําคัญตอการลดความเหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดิน โดยการ
เคลื่อนยายที่ดินจากครัวเรือนที่มีที่ดินจํานวนมากไปยังครัวเรือนที่ขาดแคลนที่ดินทํากิน
ตาราง 4.18 ขนาดที่ดินถือครองเปนเจาของจําแนกตามสถานะการเชาที่ดิน รายจังหวัด
2000 2003 2007 2010 2013 เฉลี่ย 2000-2013
ครัวเรือนที่เปนผูเชาที่ดิน (หนวย: ไร)
ฉะเชิงเทรา 12.04 11.89 12.22 11.09 11.78 11.82
ลพบุรี 30.15 19.66 24.15 31.48 24.75 26.14
บุรีรัมย 14.69 14.19 13.73 15.80 18.04 15.06
ศรีสะเกษ 7.81 7.92 9.13 7.67 5.23 7.79
เฉลี่ยทุกจังหวัด 15.44 13.11 14.56 16.21 15.05 14.79
ครัวเรือนที่เปนผูปลอยเชาที่ดิน (หนวย: ไร)
ฉะเชิงเทรา 88.72 82.39 39.46 41.87 35.07 60.18
ลพบุรี 71.50 70.13 63.75 34.13 36.75 58.79
บุรีรัมย 55.00 45.63 56.75 52.59 54.93 51.64
ศรีสะเกษ 36.60 32.00 36.50 15.00 15.00 32.34
เฉลี่ยทุกจังหวัด 63.28 53.99 48.07 43.79 42.26 51.67
ที่มา: จากการคํานวนของผูวิจัยจากฐานขอมูล Townsend Thai Project (2013)
อยางไรก็ตาม จํานวนครัวเรือนเกษตรที่เปนผูปลอยเชาที่ดินมีจํานวนนอยมากเมื่อเทียบกับจํานวน
ครัวเรือนทั้งหมด ครัวเรือนสวนมากเปนผูเชาหรือทํากินบนที่ดินบนตนเอง จากตาราง 4.19 จากครัวเรือน
ที่ศึกษาทั้งสิ้น 384 ครัวเรือน พบวา ในป 2000 มีผูปลอยเชาที่ดินเพียง 23 ครัวเรือน และลดลงทุกป
จนกระทั่งในป 2013 เหลือเพียง 17 ครัวเรือน แมวาจํานวนครัวเรือนที่เชาที่ดินจะมีแนวโนมลดลงเชนกัน
แตมีจํานวนผูเชาสูงกวาจํานวนผูปลอยเชาที่ดินหลายเทา ในป 2000 มีครัวเรือนที่เชาที่ดินเพื่อทํา
การเกษตรสูงถึง 126 ครัวเรือน จํานวนผูเชาลดลงทุกป ในป 2013 เหลือเพียง 88 ครัวเรือน ทั้งนี้ จังหวัด
ฉะเชิงเทรามีจํานวนผูเชาที่ดินสูงกวาจังหวัดอื่นอยางเห็นไดชัด ในขณะที่จังหวัดศรีสะเกษมีจํานวนผูเชา
และผูปลอยเชาที่ดินนอยที่สุด และจํานวนไมแตกตางกันมาก แสดงวาครัวเรือนในจังหวัดศรีสะเกษ
สวนมากทําการเกษตรบนที่ดินของตนเอง
4-27