Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                          การไดมาซึ่งที่ดินเกษตรจากการเชา จากญาติ และจากแหลงอื่นๆ มีบทบาทอยางมากตอการ
                   ขยายทีดินของครัวเรือนในแตละป ทั้งในแงของสัดสวนที่ดินทั้งหมดและในแงความยืดหยุนในการขยาย

                   ที่ดินเกษตรจากแหลงดังกลาว เมื่อพิจารณาจากสัดสวนเนื้อที่จะเห็นไดวาการเชาที่ดินยังคงเปนชองทาง

                   ขยายพื้นที่เกษตรกรรมที่สําคัญคัญที่สุด อีกทั้งสัดสวนการเชามีการเปลี่ยนแปลงคอนขางรวดเร็วในแตละป
                   ยกตัวอยาง เชน ในป ค.ศ.2000 และ ค.ศ.2003 และ ค.ศ.2010 สัดสวนการเชาที่ดินเฉลี่ยสูงถึงรอยละ55

                   ของที่ดินทั้งหมดที่มีการนําเขามาใชทําการเกษตร แตในป ค.ศ.2007 และ ค.ศ.2013 สัดสวนดังกลาว

                   ลดลงเหลือเพียงรอยละ 20 โดยเฉลี่ย การเปลี่ยนแปลงดังกลาวแสดงใหเห็นวาการขยายพื้นที่ทํา
                   การเกษตรของครัวเรือนโดยการเชาที่ดินนั้นสามารถทําไดงายและมีคาใชจายทางธุรกรรม (transaction

                   costs)ที่ต่ํานอกจากนี้ เมื่อพิจารณากรณีแหลงที่มาของที่ดินจากแหลงอื่นๆ พบวา ที่ดินในสวนนี้ครัวเรือน

                   ไดมาจากการที่ผูอื่นนําที่ดินมาจํานองมากเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือการที่ครัวเรือนไปไถถอนที่ดินที่
                   ตนเองนําไปจํานองไวกับทาง ธกส. หรือสหกรณการเกษตร ในกรณีหลังนั้นคอนขางนาสนใจ เนื่องจากมี

                   การไถถอนที่ดินจาก ธกส. ในจํานวนที่สูงในชวงป ค.ศ.2003 และลดลงอยางรวดเร็วในชวงรอยตอระหวาง

                   ป ค.ศ.2003 และ ค.ศ.2007 ซึ่งเปนชวงเดียวกับที่สัดสวนทั้งหมดของการนําที่ดินใหมเขามาทําการเกษตร

                   ลดลงกวา 4 เทา

                          นอกจากขอจํากัดเรื่องราคาที่ดินแลว มีขอจํากัดและปจจัยอื่นๆ อีกมากมายที่สงผลใหการเชา
                   ที่ดินเปนตัวเลือกอันดับแรกเมื่อครัวเรือนตองการขยายพื้นที่ทําการเกษตร การขาดโอกาสในการเขาถึง

                   สินเชื่อของครัวเรือนที่มีความสามารถและศักยภาพในการผลิตแตขาดแคลนที่ดินเปนอีกหนึ่งตัวอยางของ

                   ขอจํากัดดังกลาว การศึกษาของ Robert  M.  Townsend  (2006) พบวา ความสามารถพิเศษของ
                   ผูประกอบการ (entrepreneurial  talent)  ของครัวเรือนซึ่งวัดจากระดับการศึกษาและระยะเวลาที่

                   ครัวเรือนประกอบธุรกิจเปนปจจัยสําคัญที่ชวยใหธุรกิจไดรับผลตอบแทนที่สูง อยางไรก็ตาม ยังปรากฏวามี

                   ครัวเรือนจํานวนไมนอยที่มีความสามารถพิเศษของผูประกอบการแตกลับไดรับสินเชื่อที่ปลอยกูใหในระดับ
                   ต่ําเนื่องจากไมมีที่ดินหรือหลักทรัพยที่มีมูลคาสูงไปใชค้ําประกันเงินกู ในมุมมองของผูใหกูจึงคิดวาการ

                   ปลอยกูใหครัวเรือนกลุมนี้มีความเสี่ยงที่สูงกวาครัวเรือนทั่วไปขอจํากัดดานสินเชื่อดังกลาวครอบคลุมทั้ง

                   แหลงสินเชื่อแบบทางการจากสถาบันการเงินและสินเชื่อแบบไมเปนทางการอีกดวย ดังนั้น จะเห็นไดวา
                   ตราบใดที่สินเชื่อเพื่อกิจกรรมทางธุรกิจถูกกําหนดโดยความมั่งคั่งเปนหลักในขณะที่ความสามารถและผลิต

                   ภาพการผลิตมีน้ําหนักเพียงเล็กนอย โอกาสที่ครัวเรือนที่มีความสามารถแตขาดที่ดินหรือหลักทรัพยค้ํา

                   ประกันอื่นๆ จะสามารถขยายกิจการเพื่อเก็บเกี่ยวผลตอบแทนที่สูงไดนั้นเปนไปไดยากตลาดการเงินและ
                   สถาบันการเงินที่ไมไดทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพนั้นกอใหเกิดอุปสรรคของการเขาถึงสินเชื่อ ทั้งในได

                   ตนทุนของสินเชื่อและปริมาณสินเชื่อที่ไดรับ ซึ่งเปนขอจํากัดที่สําคัญของเกษตรกรและภาคธุรกิจขนาดเล็ก

                   โดยเฉพาะในชนบท ดังนั้นจึงจําเปนตองพัฒนาศักยภาพของภาคการเงินใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และลด
                   ขอจํากัดของการเขาถึงสินเชื่อของประชาชน รัฐบาลไทยไดพยายามในการแกปญหาของตลาดสินเชื่อที่ไม









                                                            4-23
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46