Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                   สมบูรณและมีปริมาณสินเชื่อที่จํากัด ผานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ธ.ก.ส. และผาน

                   สถาบันระดับหมูบานเชน กองทุนหมูบาน กลุมสินเชื่อเพื่อการผลิต เปนตน

                          อยางไรก็ตาม การสนับสนุนสินเชื่อแกครัวเรือนจําเปนตองมีความรอบคอบเพื่อลดความเสี่ยงที่

                   เกิดจาการกูยืมเงินไปใชผิดวัตถุประสงค โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีการนําเงินกูไปใชในกิจกรรมที่ไมสราง
                   ผลตอบแทนหรือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใหกับครัวเรือนจากการศึกษาของ Kaboski and Townsend

                   (2005) ซึ่งทําการประเมินผลกระทบของโครงการกองทุนหมูบานตอการลงทุนและรายได พบวา สินเชื่อ

                   กองทุนหมูบานของรัฐบาลไมกอใหเกิดการเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญของรายไดจากการปลูกขาวและพืชอื่น
                   ๆ และยิ่งไปกวานั้น หากพิจารณาในสัดสวนของรายได พบวาสัดสวนของรายไดจากการเกษตรเทียบกับ

                   รายไดครัวเรือนลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สําหรับดานการลงทุนพบวา ผูที่กูเงินกองทุนหมูบานมี

                   แนวโนมจะลงทุนทางการเกษตรเพิ่มขึ้นแตในความจริงกลับพบวา เกษตรกรลดคาใชจายการซื้อปุยลง
                   ถึงแมวาการซื้อปุยเปนเหตุผลที่ใชในการขอกูเงิน ซึ่งการลดลงของการซื้อปุยสอดคลองกับการลดลงของ

                   รายไดจากพืชประกอบกับสินเชื่อกองทุนหมูบานมีความคลองตัว (แปลงสภาพเปนเงินสดไดงายกวา)

                   มากกวาสินเชื่อเพื่อการซื้อปุยจาก ธกส. ดังนั้นจึงสงผลใหการใชปุยลดลง แมวาปุยเปนเหตุผลที่ระบุไว
                   สําหรับการกูยืมเงินสําหรับทั้งการขอสินเชื่อจาก ธกส. และ กองทุนหมูบาน อาจจะเปนไปไดวาในปจจุบัน

                   เกษตรกรมีการใชปุยในการเพาะปลูกพืชมากเกินไปกวาความเหมาะสมแลว ทําใหการใสปุยที่เพิ่มขึ้นไมได

                   ชวยใหผลผลิตเพิ่มขึ้น (Wivutvongvana และ Jiraporncharoen, 2002)

                          นอกจากนี้ Kaboski  and  Townsend  (2009) ไดทําการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลกระทบของ

                   โครงการกองทุนหมูบานตอการบริโภคและการลงทุน วัตถุประสงคหลักของการศึกษาคือเพื่อหาสาเหตุวา
                   ทําไมโครงการกองทุนหมูบานจึงสงผลใหมีการบริโภคเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญแตกลับไมมีผลกระทบตอการ

                   ลงทุน ผลการศึกษาชี้วาครัวเรือนที่หาเชากินค่ํานั้นเปนครัวเรือนที่มีรายไดต่ําและไดตอบสนองตอการ

                   เขาถึงแหลงเงินกองทุนหมูบานดวยการกูเงินตามที่ไดรับการอนุมัติและนําไปใชจายเพิ่มการบริโภค ซึ่ง
                   สัดสวนของครัวเรือนที่เปนครัวเรือนหาเชากินค่ําซึ่งเปนสัดสวนที่ใหญที่สุดดวย ดังนั้นการบริโภคใน

                   ภาพรวมจึงเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ในแงของการลงทุน พบวา ครัวเรือนไมไดมีการลงทุนบอยครั้งและการ

                   ลงทุนแตละครั้งตองใชเงินจํานวนมากเชนการซื้อรถบรรทุก หรือการสรางโรงเรือน ซึ่งครัวเรือนที่มีการ
                   ตอบสนองตอการลงทุนที่ไวตอการเพิ่มขึ้นของสินเชื่อมีเพียงจํานวนนอยในกลุมตัวอยาง โดยเฉพาะ

                   ครัวเรือนที่มีการลงทุนขนาดใหญ จึงทําใหผลกระทบของโครงการกองทุนหมูบานตอการลงทุนไมมี

                   นัยสําคัญ


















                                                            4-24
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47