Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                   ตาราง 4.19 จํานวนครัวเรือนในฐานะผูเชาและผูใหเชา รายจังหวัด

                                              2000     2003  2007  2010  2013  เฉลี่ย 2000-2013
                    ครัวเรือนที่เปนผูเชาที่ดิน (หนวย: ครัวเรือน)

                          ฉะเชิงเทรา           61       66      63      55      49           59

                          ลพบุรี               21       21      22      22      16           20
                          บุรีรัมย            34       34      24      28      18           28

                          ศรีสะเกษ             10       18       8       5       5            9

                          รวมทุกจังหวัด        126     139      117     110     88          116

                    ครัวเรือนที่เปนผูปลอยเชาที่ดิน (หนวย: ครัวเรือน)
                          ฉะเชิงเทรา            8        9       6       7       7            7

                          ลพบุรี                3        4       2       2       2            3

                          บุรีรัมย             5       12       5       7       7            7

                          ศรีสะเกษ              7       10       2       1       1            4
                          รวมทุกจังหวัด        23       35      15      17      17           21

                    ที่มา: จากการคํานวนของผูวิจัยจากฐานขอมูล Townsend Thai Project

                   4.2.2 ราคาสินคาเกษตรกับการขยายขนาดฟารม


                          ความกาวหนาดานเทคโนโลยีและการสื่อสารทําใหการเชื่อมตอระหวางผูซื้อและผูขายในตลาด
                   สินคาเกษตรมีประสิทธิภาพมากกวาในอดีต การสงออกและนําเขาสินคาทําไดงายขึ้น ความเชื่อมโยง

                   ระหวางตลาดในประเทศและตลาดโลกที่มากขึ้นหมายความวาการเปลี่ยนแปลงตางๆ ทั้งดานอุปสงคและ

                   อุปทานในตลาดโลกยอมสงผลตอตลาดในประเทศ ดังนั้นรายไดจากภาคเกษตรของครัวเรือนก็ยอม
                   เกี่ยวพันกับตลาดโลกอยางหลีกเลี่ยงไมได ในกรณีของประเทศไทยก็เชนเดียวกัน เนื่องจากประเทศไทยซี่ง

                   เปนประเทศผูผลิตและสงออกสินคาเกษตรที่สําคัญหลายชนิด เชน ขาว น้ําตาล ยางพารา มันสําปะหลัง

                   เปนตน ดังนั้นราคาสินคาเกษตรในตลาดโลกยอมมีบทบาทสําคัญในการกําหนดราคาสินคาเกษตรของไทย
                   ซึ่งสงผลตอการตัดสินใจในของเกษตรกรในการใชที่ดินเกษตรตามกิจกรรมตางๆ นอกจากนี้ นโยบายการ

                   แทรกแซงราคาสินคาเกษตรของรัฐในบางชวงก็เปนอีกปจจัยที่สงผลตอราคาสินคาเกษตรของไทย
























                                                            4-28
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51