Page 70 -
P. 70
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เจ้าหน้าที่ภาคสนามในบางพื้นที่มีจํานวน การตัดสินใจได้อย่างเต็มที่ เกษตรกรยากลําบากขึ้น การผลักดันให้ เกษตรกรปลูกพืชที่ผ่านมาตรฐานการ ในราคาเดียวกันสินค้าทั่วไป
ข้อจํากัด น้อย ต้องประสานกับเกษตรกรจํานวนมาก และรับภาระหนักในการถ่ายทอดองค์ความรู้ และการหาตลาด ทําให้ในบางครั้งไม่สามารถ สื่อสารทําความเข้าใจหรืออธิบายเหตุผลของ การที่ สวพส. ยังไม่มีช่องทางจัดจําหน่ายของ ตนเองทําให้การสร้างแรงจูงใจที่ต่อเนื่องให้ เพาะปลูกที่ดี แต่ยังมีตลาดที่แน่นอนที่จะให้ ราคาสูงตามลักษณะการผลิตได้ ทําให้ใน บางครั้งเกษตรกรต้องขายสินค้าคุณภาพสูง
โครงการ/สวพส. มีงานวิจัย ความรู้ให้เกษตรกร ถึงแม้ สวพส. จะยังไม่มี ตลาดของตนเอง แต่การมี ความมั่นใจในการปลูก ช่วยแบ่งเบาภาระต้นทุน โดยเฉพาะในช่วงแรก การเน้นแนวทางการ เพาะปลูกที่ดี มุ่งตลาดบน ช่วยปลูกฝังเรื่องการรักษา ดิน น้ํา ป่า ให้เกษตรกร
จุดเด่น/ข้อดี ต่อยอดและมีความรู้เฉพาะ ทางด้านเกษตรในพื้นที่สูง และระบบการถ่ายทอดองค์ คนกลางช่วยเชื่อมเกษตรกร ไปหาตลาดทําให้เกษตรกรมี
การแบ่ง ผลประโยชน์และ ภาระต้นทุน โครงการ/สวพส. สนับสนุนการ รวมกลุ่มกันของ เกษตรกร ซึ่ง ผลประโยชน์ที่เกิด จากการขายจะ กลับคืนสู่เกษตรกร โดยตรง โครงการ/ สวพส. ช่วยอุดหนุนต้นทุน บางส่วน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในช่วง เริ่มต้น และในบาง กรณี จะเป็น ลักษณะอุดหนุน ผ่านกลุ่ม ทําให้ เกษตรกรจ่ายค่า วัสดุ อุปกรณ์ ใน ราคาถูก 3-27
การเป็นเจ้าของและ การตัดสินใจทาง ธุรกิจ เกษตรกรเป็น ผู้ดําเนินการผลิต แต่ อาจมีการวางแผนการ ผลิตร่วมกันกับ เจ้าหน้าที่ของ โครงการ/สวพส. การตัดสินใจทางธุรกิจ จะเป็นการตัดสินใจ ร่วมระหว่างเกษตรกร กับเจ้าหน้าที่ โดยที่ ทางเกษตรกรเองอาจ รวมกลุ่มในลักษณะ สหกรณ์
การแบกรับความเสี่ยง โครงการหลวง เกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการไม่ต้องรับความ เสี่ยงด้านการหาตลาด เนื่องจากโครงการหลวง มีช่องทางกระจายสินค้า ของตนเอง แต่อาจยัง ต้องรับความเสี่ยงด้าน ราคาบ้างตามลักษณะ สัญญา สวพส แม้ สวพส. ยังไม่ มีช่องทางกระจายสินค้า ของตนเอง แต่สินค้า คุณภาพสูงก็สามารถทํา แผนส่งขายโครงการ หลวงได้ และ สวพส. ช่วยหาตลาดให้กับ เกษตรกร แต่โดยส่วน ใหญ่เกษตรกรยังต้องรับ ความเสี่ยงเรื่องราคา
รูปแบบ 6. โครงการ หลวง/ สถาบันวิจัย และพัฒนา พื้นที่สูง