Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว











                   ระบบการทําบัญชีซับซ้อน เกษตรกรรายย่อย อาจได้รับการจ่ายเงินปันผลต่ําเนื่องจากมีผู้  ร่วมถือหุ้นเป็นจํานวนมาก   หากต้องมีการเพิ่มทุนและเกษตรกรรายย่อย  ไม่สามารถซื้อหุ้นเพิ่มทุนได้สัดส่วนการผู้ถือ หุ้นของฟากเกษตรกรหรือชุมชนก็จะน้อยลง   ในความเป็นจริง อาจให้อํานาจตัดสินใจหรือ  อํานาจบริหารกับเกษตรกรรายย่อยน้อย   เกษตรกรรายย่อยหรือชุมชนอาจเผชิญความ  เสี่ยงสูง ขึ้นอยู่กับการประกันความเสี่ยง   ภาระการชดใช้หนี้



















                   เกษตรกรรายย่อยและชุมชน   มีสิทธิในความเป็นเจ้าของ  ธุรกิจและกิจการ    เกษตรกรรายย่อยและชุมชน  ได้รับเงินปันผลจากการเป็น  เจ้าของธุรกิจและกิจการ   เพิ่มแรงจูงใจให้เกษตรกร    สามารถสร้างแบรนด์และ  ชื่อเสียงได้ไม่ยาก    มีกรอบกฎระเบียบที่ชัดเจน   เท่าเทียม














                     ผลประโยชน์และ  ภาระต้นทุนจะ  ขึ้นอยู่กับสัดส่วน  การเป็นเจ้าของ                        3-23


                   การแบ่ง




                   ผู้ร่วมทุนเป็นเจ้าของ  ร่วมกัน (อาจมีรัฐ  มาร่วมทุนด้วย) แต่ผู้  ร่วมทุนแต่ละฝ่ายยัง  เป็นนิติบุคคลที่  แยกกัน    ผู้ถือหุ้นเป็นเจ้าของ  ที่ดินและปัจจัยการ  ผลิตโดยมอบสิทธิให้  บริษัทร่วมทุนในการ  ใช้สินทรัพย์ที่ผู้ถือหุ้น  ถือครอง    โดยมากเกษตรกรหรือ  ชุมชนสนับสนุนที่ดิน  และบริษัทธุรกิจ  การเกษตรสนับสนุน  ทุน    การตัดสินใจเรื่องการ  ผลิตเป็นการตัดสินใจ  ร่วมกันผ่าน  กรรมการบริหาร ซึ่ง  จํานวนผู้แทนใน  กรรมการบริหาร  ขึ้นอยู่กับสัดส่วนหุ้น










                  การแบกรับความเสี่ยง  ทางด้านการผลิต  การตลาดและการเงิน   จะเป็นสัดส่วนตามการ  เป็นเจ้าของธุรกิจ








                  
                 2. การร่วมทุน   (Joint   venture)
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71