Page 64 -
P. 64
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ต้นทุนการทําสัญญาจะยิ่งสูง ถ้าต้องทํา สัญญากับเกษตรกรหลายราย เกษตรกรอาจขายผลผลิตในตลาดทั่วไปแทน ถ้าราคาตลาดสูงกว่าราคาที่ตกลงในสัญญา โดยที่บริษัทก็ไม่ได้รับการชดเชยใดๆ อาจต้องเผชิญกับคุณภาพสินค้าที่ไม่ สม่ําเสมอเพราะเกษตรกรไม่ลงทุนปรับปรุง พัฒนาที่ดินตัวเอง เนื่องจากไม่มีสิทธิ์ ถ้ารายได้จากเกษตรพันธะสัญญาเป็นรายได้ หลักของเกษตรกรและบริษัทรับซื้อเป็นผู้รับ ซื้อรายเดียว อํานาจการต่อรองของเกษตรกร เกษตรกรมีโอกาสติดอยู่ในวงจรหนี้สูง โดยเฉพาะกล
มุมมองบริษัท - - - ครอบครองที่แท้จริง มุมมองเกษตรกร - จะมีน้อย - - มีคุณภาพต่ํา -
มุมมองบริษัท ลดความเสี่ยง ด้านการจัดหาผลผลิต ทางการเกษตร บริษัทจะ ได้ผลผลิตที่ต้องการ ตรง ตามปริมาณและคุณภาพที่ กําหนดอย่างสม่ําเสมอ และ ไม่ต้องเผชิญความเสี่ยงจาก การกว้านซื้อที่ดินจํานวน มาก มุมมองเกษตรกร เกษตรกรยังเป็นเจ้าของ - ที่ดินและเป็นผู้ดําเนินการ ผลิต เพิ่มประสิทธิภาพในการทํา - เกษตรกรรมของเกษตรกร ผ่านการให้ความรู้ทาง เทคนิคและเสริมทักษะ บริหารจัดการ เพิ่มโอกาสในเกษตรกรใน - การเข้าถึงปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยี
ผลตอบแทนหลักที่ เกษตรกรจะได้จาก รูปแบบธุรกิจนี้ ขึ้นอยู่กับราคารับ ซื้อและเงื่อนไขการ จัดหาวัตถุดิบให้ และขึ้นอยู่กับ อํานาจการต่อรอง ของเกษตรกร 3-21
บริษัทเป็นเจ้าของ ทั้งหมด ยกเว้นที่ดินที่ ยังคงเป็นของ เกษตรกร โดยทั่วไปบริษัทจะ เป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด แต่เกษตรกรอาจมี อิทธิผลบ้างต่อการ ตัดสินใจของบริษัท ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบ ย่อยของเกษตรพันธะ สัญญา
เกษตรกรแบกรับความ เสี่ยงจากความ แปรปรวนของสภาพ อากาศ การแพร่ระบาด ของศัตรูพืช และปัจจัย อื่นที่อาจส่งผลต่อ ผลผลิตและการเก็บ เกี่ยว ถ้าเป็นข้อตกลงที่ให้ ราคาคงที่ บริษัทแบก รับความเสี่ยงทางด้าน ตลาดแทนเกษตรกร ถ้าเป็นข้อตกลงที่ให้ ราคาสัมพันธ์กับราคา ตลาดเกษตรกรรับความ เสี่ยงทางราคา
1. เกษตร พันธะสัญญา