Page 69 -
P. 69
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ข้อจํากัด อาจต้องไปแข่งขันกับบริการบางอย่างของ ภาครัฐ เช่น บริการแจกปัจจัยการผลิตฟรี ของรัฐ ธุรกิจกิจการเพื่อสังคมมักเผชิญ อุปสรรคในการปรับเปลี่ยนแนวคิดของ เกษตรกรที่ชินกับการได้รับของแจกฟรีจาก ขาดแคลนบุคลากรเนื่องจากเป็นกิจการที่ไม่ แสวงผลกําไรทําให้ไม่สามารถให้ค่าตอบแทน กับบุคลากรได้มากพอที่จะแข่งกับ ส่วนใหญ่เข้าถึงแหล่งทุนทั่วไป เช่น ธนาคาร พาณิชย์ได้ยาก เนื่องจากมีวัตถุประสงค์ไม่ การผลิตสินค้าคุณภาพสูงต้องใช้ความรู้ทาง เทคนิคและการบริหารจั
มุมมองบริษัท - ภาครัฐ - ตลาดแรงงานได้ - แสวงหาผลกําไร มุมมองเกษตรกร - อาศัยการช่วยเหลือมาก
เกษตรกรสามารถเข้ามามี ให้กลุ่มตนเอง มีคุณภาพในราคาต่ํา เป็นโอกาสในการทํา เฉพาะ เปิดโอกาสให้มีการผลิต สินค้าหรือบริการที่มี การลงทุนหรือภาครัฐไม่ สามารถตอบสนองความ ต้องการของเกษตรกรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เจาะกลุ่มเกษตรกรยากจน หรือผู้มีรายได้น้อยได้
จุดเด่น/ข้อดี ส่วนออกแบบธุรกิจและเพิ่ม อํานาจการต่อรองให้ตลาด เกษตรกรได้ปัจจัยการผลิตที่ branding และเจาะตลาด ประโยชน์กับสังคมโดยรวม เป็นการเติมช่องว่างในตลาด ที่บริษัทที่แสวงหาผลกําไร เห็นว่าได้ผลตอบแทนไม่คุ้ม
การแบ่ง ผลประโยชน์และ ภาระต้นทุน มีการระบุสัดส่วน เงินหรือส่วนแบ่ง จากกําไรที่จะต้อง คืนกลับมาเพื่อ ช่วยเหลือชุมชน เกษตรกรในรูปแบบ ต่างๆ มักได้รับการ สนับสนุนทุนการ ดําเนินงานจาก หน่วยงานภายนอก หรือผู้บริจาค ไม่ใช่การดําเนิน ธุรกิจเพื่อแสวงหา ผลกําไร และไม่เน้น การแบ่งหรือคืน กําไรกลับให้ผู้ถือหุ้น หรือเจ้าของบริษัท 3-26
การเป็นเจ้าของและ การตัดสินใจทาง ธุรกิจ ขึ้นอยู่กับธุรกิจที่ บริษัทกิจการเพื่อ สังคมเข้ามาเกี่ยวข้อง และรูปแบบการ ดําเนินงาน บริษัทกิจการเพื่อ สังคมอาจมาจากกลุ่ม NGO เดิม นักลงทุนที่ สนใจกิจการเพื่อสังคม หรือเกษตรกร รวมกลุ่มขึ้นหรือ พัฒนาจากกลุ่ม สหกรณ์
การแบกรับความเสี่ยง มีความพยายามลดความ เสี่ยงทางราคาหรือทาง ตลาดที่เกษตรกรต้อง แบกรับ ผ่านการให้ราคา premium หรือการ ประกันราคาขั้นต่ํา ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ การดําเนินงานเพื่อ วัตถุประสงค์ทางสังคม
รูปแบบ 5. กิจการเพื่อ สังคม/กิจการ ไม่หวังผลกําไร (Social enterprise/ non-profit organization)