Page 151 -
P. 151
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รวม เมล็ดพันธุ์ กลุ่มโรงเรือน p-value
ตัวแปรด้านเศรษฐกิจ
net_inc_major 45,410.90 54,166.89 33,371.41 0.079 *
total_inc 104,389.48 116,072.73 88,325.00 0.235
Inc_diverse 0.62 0.51 0.76 0.031 **
hap_finance 3.84 3.36 4.50 0.448
ตัวแปรด้านสังคม
dependency 0.57 0.82 0.22 0.004 ***
debt 19,605.26 28,636.36 7,187.50 0.057 *
debt_ratio 0.80 0.89 0.66 0.317
formal_debt 0.42 0.24 0.66 0.023 **
Informal_debt 0.41 0.69 0.01 0.031 **
food_secur 0.01 0.01 0.01 0.819
resilience 0.84 0.91 0.75 0.376
hap_overall 7.95 7.45 8.63 0.155
ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม
landuse_change 0.68 0.45 1.00 0.082 *
chemical_change 2.68 2.91 2.38 0.468
water_problem 3.11 3.09 3.13 0.936
chem 105.69 356.36 135.00 0.076 *
organic 650.00 0.00 800.00 0.000 ***
pesticide 4.29 2.50 3.83 0.541
herbicide 3.83 3.13 2.00 0.797
หมายเหตุ *,**,*** หมายถึงค่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ 0.10, 0.05, 0.01 ตามลําดับ
ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรความยั่งยืนด้านต่างๆ กับตัวแปรต้นทั้งลักษณะเกษตรกร
133
ลักษณะการเกษตร และรูปแบบธุรกิจ ของเกษตรกรในบ้านแม่จริมและโป่งคํา จํานวน 35 ราย ได้เพิ่มตัว
แปรหุ่นที่อธิบายกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกพืชโรงเรือน (GS) โดยให้เกษตรกรที่ปลูกพืชในโรงเรือนมีค่าเท่ากับ 1
และเกษตรกรที่ไม่ปลูกพืชโรงเรือน (ทําเมล็ดพันธุ์) มีค่าเท่ากับ 0 และตัวแปรหุ่นสําหรับเกษตรกรบ้านแม่จริม
(V3) โดยเกษตรกรที่อยู่บ้านแม่จริมเท่ากับ 1 และเกษตรกรที่อยู่บ้านอื่นๆ เท่ากับ 0 โดยมีผลการศึกษาที่
น่าสนใจดังนี้
133
การประมาณสมการสหสัมพันธ์ในส่วนนี้รวมข้อมูลเกษตรกรในหมู่บ้านแม่จริมและโป่งคําเข้าด้วยกันเพราะเกษตรกรในทั้ง 2
หมู่บ้านมีการปลูกผลผลิตที่ใกล้เคียงกันและเพื่อให้มีจํานวนตัวอย่างมากขึ้น และใช้ตัวแปรหุ่นเพื่อแยกผลของเกษตรกรคนละ
หมู่บ้านออกจากกัน
6-11