Page 8 -
P. 8
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(6) บทสรุปผู้บริหาร
ออกแบบให้ง่ายต่อการใช้งาน เข้าถึงได้ง่าย ต้นทุนตํ า และถูกส่งถึงผู้ใช้โดยตรง เช่น การพัฒนา
แอปพลิเคชั น (application) สําหรับพยากรณ์วัน-เวลาฝนตกสําหรับเกษตรกร รวมทั งมีการ
ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผลการพยากรณ์ในระดับชุมชนด้วย
2) แนวนโยบายจัดการความเสี ยงด้านราคาและตลาด
2.1) มาตรการเสถียรภาพด้านรายได้
ภาครัฐควรดําเนินมาตรการที จําเป็นเพื อลดความผันผวนของราคาและเพิ มความมีเสถียรภาพ
ของรายได้ แนวทางดําเนินงานคือ (1) โครงการกองทุนมูลภัณฑ์กันชนภายในประเทศ (2) การควบคุม
อุปทานยางพาราผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศผู้ผลิตยาง (3) โครงการจ่ายเงินอุดหนุนครัวเรือน
โดยตรงในสภาวะวิกฤตราคายาง สําหรับครัวเรือนเกษตรกรสวนยางขนาดเล็ก (SFF) และครัวเรือน
เกษตรกรขนาดเล็กมาก (VFF) เท่านั น และ (4) การส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยางเพื อเพิ มเสถียรภาพ
รายได้
2.2) มาตรการพัฒนาความสมบูรณ์ของข้อมูลสารสนเทศทางการตลาด
ภาครัฐควรสนับสนุนการพัฒนาและเพิ มความสามารถทํางานของหน่วยงานหรือศูนย์
สารสนเทศข้อมูลการตลาดและราคายางในการ (1) ทําหน้าที รวบรวม วิเคราะห์ ติดตามและประเมิน
ข้อมูลทั งในประเทศและต่างประเทศ และ (2) เพิ มความสามารถและประสิทธิภาพในการเผยแพร่
ข้อมูลสู่เกษตรกร รวมทั งต้องเพิ มจํานวนช่องทางในการเข้าถึงข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูลที ง่าย
ต้นทุนตํ า และมีความสมบูรณ์และความเพียงพอของข้อมูล นอกจากนี หน่วยงานที เกี ยวข้องควร
สนับสนุนให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้กับเกษตรกรในการใช้ประโยชน์และตีความข้อมูลทาง
การตลาดอย่างแพร่หลาย
2.3) มาตรการส่งเสริมการรวมกลุ่มและเสริมสร้างความเข้มแข็งองค์กรเกษตรกร
การยางแห่งประเทศไทยและหน่วยงานที เกี ยวข้องควรดําเนิน 2 มาตรการสําคัญ
คือ (1) มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกร โดยการยางแห่งประเทศไทยและ
หน่วยงานที เกี ยวข้องต้องส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื อจัดตั งเป็นองค์กรเกษตรกรใน
รูปแบบที เหมาะสมทั งในพื นที เดิมและพื นที ปลูกยางใหม่ จัดตั งสหกรณ์กองทุนสวนยางทุกตําบล
และเกษตรกรขนาดเล็กต้องเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกรหรือสหกรณ์ และ (2) มาตรการเสริมสร้างความ
เข้มแข็งและความสามารถในการแข่งขันด้านห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ การส่งเสริมและสนับสนุนให้
สหกรณ์กองทุนสวนยางจัดตั งเป็นเครือข่ายพันธมิตรธุรกิจยางพาราในระดับพื นที อําเภอ หรือจังหวัด
เพื อดําเนินโมเดลธุรกิจการจัดหาวัตถุดิบสมัยใหม่ที เน้นความเป็นคู่ค้าและพันธมิตรทางธุรกิจกับ
ผู้ส่งออก ผู้ใช้ยางในต่างประเทศ หรือขายผ่านตลาดกลาง ทั งนี มีความจําเป็นต้องอาศัยการบูรณาการ
ด้านการบริหารจัดการ การเงิน การอํานวยความสะดวก การจัดการความเสี ยง และการสนับสนุนจาก
การยางแห่งประเทศไทย และหน่วยงานภาครัฐที เกี ยวข้อง