Page 9 -
P. 9
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทสรุปผู้บริหาร (7)
2.4) มาตรการประกันภัยสําหรับสวนยาง
ภาครัฐต้องสนับสนุนให้ครัวเรือนเกษตรกรทําประกันภัยภัยพิบัติธรรมชาติ ในเบื องต้นรัฐบาล
ควรเร่งศึกษาความเป็นไปได้ สนับสนุน และขับเคลื อนการทําประกันภัยแบบกลุ่มเกษตรกรหรือ
รายบุคคลเพื อคุ้มครองความเสียหายเมื อเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติโดยต้องอาศัยความร่วมมือภาครัฐ
ธนาคารเพื อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร แนวทางการทําประกันภัยในระยะเริ มต้นควรใช้ระบบ
ประกันภัยสวนยางแบบสมัครใจโดยรัฐจ่ายสมทบเบี ยประกันบางส่วน ให้หลักประกันค่าชดเชยที คุ้มค่า
กับความเสียหาย และส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของภาคเอกชนและชุมชน ในระยะยาวรัฐอาจจะ
จําเป็นต้องมีมาตรการการประกันภัยสวนยางทั วทั งประเทศ
2.5 มาตรการพัฒนาระบบการตลาดยางพารา
แนวทางการพัฒนาระบบการตลาดยางพาราประกอบด้วย (1) การพัฒนาระบบตลาดซื อขาย
ยางแบบข้อตกลงส่งมอบจริง โดยการยางแห่งประเทศไทย และหน่วยงานที เกี ยวข้องควรส่งเสริมและ
ใช้มาตรการที จําเป็นเพื อการเพิ มจํานวนผู้เล่นในตลาด การจัดตั งบริษัทร่วมทุนเป็นตัวกลางทาง
การตลาด ปรับบทบาทและหน้าที ของตลาดกลางให้เป็นตลาดเครือข่าย ผู้ตรวจสอบคุณภาพยาง และ
คลังสินค้าในการส่งมอบจริง การพัฒนาระบบการส่งคําสั ง ซื อ-ขาย แบบ real time และนําข้อมูลตลาด
และราคายางเผยแพร่สู่สาธารณะอย่างมีการจัดการ เพื อชี นําให้เป็นราคาอ้างอิงทั งตลาดยาง
ภายในประเทศและต่างประเทศ และ (2) พัฒนาตลาดกลางยางพาราและตลาดเครือข่าย โดยการยาง
แห่งประเทศไทย และหน่วยงานที เกี ยวข้องควรสนับสนุนการขยายพื นที บริการของตลาดกลางเดิมทั ง
5 แห่ง โดยจัดตั งตลาดเครือข่ายของตลาดกลางในพื นที นอกพื นที บริการ การเพิ มจํานวนผู้เล่นใน
ตลาดกลาง และควรจัดตั งตลาดกลางยางพาราเพิ มขึ นในพื นที ปลูกยางหนาแน่นและพื นที ปลูก
ยางใหม่ ทั งนี ตลาดกลางจัดตั งขึ นใหม่ควรมีลักษณะบริษัทร่วมทุนที มีความคล่องตัวเชิงธุรกิจและ
ขนาดตลาดที เหมาะสมกับเงื อนไขและศักยภาพทางการตลาดในพื นที
3) แนวนโยบายจัดการความเสี ยงด้านการผลิต
3.1) มาตรการปรับปรุงพันธุ์ยางที ให้ผลผลิตสูง
พันธุ์ยางเป็นหัวใจของการเพิ มผลิตภาพของการทําสวนยาง หน่วยงานรัฐที เกี ยวข้อง
โดยเฉพาะการยางแห่งประเทศไทยต้องส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ยางพันธุ์ RRIT 251 ปลูกทดแทน
RRIM 600 ให้แพร่หลายมากขึ นและเร่งงานวิจัยปรับปรุงพันธุ์ใหม่ๆ ให้เท่าทันต่อการเปลี ยนแปลงของ
ปัจจัยความเสี ยง
3.2) มาตรการส่งเสริมระบบการผลิตที มีความหลากหลาย
ภาครัฐควรขับเคลื อนการปลูกพืชร่วมยางอย่างจริงจังผ่านแนวทางที สําคญคือ (1) การส่งเสริม
และสนับสนุนผ่านระเบียบการสงเคราะห์ปลูกทดแทนของการยางแห่งประเทศไทยซึ งอาจจะต้องปรับ
กฎระเบียบการปลูกทดแทนให้เอื อต่อการขยายพื นที ปลูกพืชร่วมยาง (2) การให้ความรู้ สร้างสํานึก