Page 5 -
P. 5

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                          บทสรุปผู้บริหาร                  (3)


                   ทั งด้านอาหาร เสื อผ้า สินทรัพย์ ภาวะสุขภาพ ระดับความสัมพันธ์ของสมาชิกในครัวเรือน รวมทั ง

                   ความสัมพันธ์กับสมาชิกในชุมชน ส่วนด้านอื นๆ มีความเป็นอยู่ระดับปานกลาง
                          (3) ฟาร์มเจ้าของที ดินสวนยางขนาดเล็ก หัวหน้าครัวเรือนเริ มเข้าสู่วัยสูงอายุ

                   มีประสบการณ์การทําสวนยางเฉลี ย 234.5 ปี มีแรงงานเฉลี ย 1.9 คนต่อครัวเรือน ถือครองที ดินเป็น

                   ของตนเองเฉลี ย 15.5 ไร่ ราคายางพาราตกตํ า ราคาปัจจัยการผลิตเพิ มขึ น และความไม่แน่นอนของ

                   ปริมาณฝน เป็นความเปราะบางที ส่งผลต่อการดํารงชีพของครัวเรือน กลยุทธ์ย่อยดํารงชีพที ครัวเรือน

                   เลือกใช้ ได้แก่ การประหยัดและลดค่าใช้จ่ายที ไม่จําเป็น การลดต้นทุน การปรับเทคนิคการผลิต และ
                   เพิ มการทํางานนอกภาคเกษตร ฟาร์มประเภทนี รับการช่วยเหลือจากภาครัฐในสัดส่วนที น้อย ฟาร์มมี

                   ผลลัพธ์การดํารงชีพในระดับมากในด้านอาหาร เสื อผ้า ที ดิน สินทรัพย์ ภาวะสุขภาพ การได้รับบริการ

                   สาธารณสุข ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครัวเรือน ความสัมพันธ์กับสมาชิกในชุมชน รวมทั งการมี

                   เครือข่ายทางสังคม ส่วนด้านอื นๆ มีความเป็นอยู่ระดับปานกลาง

                          (4) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กที มีระบบการผลิตหลากหลาย หัวหน้าครัวเรือนเริ มเข้าสู่วัย
                   สูงอายุ มีประสบการณ์การทําสวนยางพาราเฉลี ย 27.1 ปี มีแรงงานเฉลี ย 3.0 คนต่อครัวเรือน

                   ถือครองที ดินเป็นของตนเองเฉลี ย 18.8 ไร่ ผลกระทบจากราคายางพาราตกตํ า และราคาปัจจัยการ

                   ผลิตเพิ มขึ น เป็นความเปราะบางที ส่งผลต่อการดํารงชีพของครัวเรือนในระดับมาก กลยุทธ์ย่อยการ

                   ดํารงชีพที ครัวเรือนเลือกใช้ ได้แก่ การประหยัดและลดค่าใช้จ่ายที ไม่จําเป็น เพิ มความหลากหลายใน
                   การผลิต การลดต้นทุนการผลิต เพิ มการทํางานนอกภาคเกษตร และการขอรับความช่วยเหลือจาก

                   หน่วยงานรัฐ ฟาร์มมีผลลัพธ์การดํารงชีพในระดับมากในด้านอาหาร เสื อผ้า สินทรัพย์ ภาวะสุขภาพ

                   ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครัวเรือน และความสัมพันธ์กับสมาชิกในชุมชน ส่วนด้านอื นๆ มีความ

                   เป็นอยู่ระดับปานกลาง
                          (5) ฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลาง หัวหน้าครัวเรือนเริ มเข้าสู่วัยสูงอายุ มีประสบการณ์การ

                   ทําสวนยางพาราเฉลี ย 30 ปี มีแรงงานเฉลี ย 2.4 คนต่อครัวเรือน ถือครองที ดินเป็นของตนเองเฉลี ย

                   49 ไร่ ราคายางพาราตกตํ า ราคาปัจจัยการผลิตเพิ มขึ น การขาดแคลนแรงงาน การขาดแคลนแรงงาน

                   ฝีมือ และความไม่แน่นอนของวันฝนตก เป็นความเปราะบางที ส่งผลต่อการดํารงชีพของครัวเรือน

                   กลยุทธ์การดํารงชีพที ครัวเรือนเลือกใช้ ได้แก่ การประหยัดและลดค่าใช้จ่ายที ไม่จําเป็น
                   เพิ มประสิทธิภาพการผลิต ปรับเทคนิคการผลิต ขยายพื นที การผลิต และเพิ มการทํางานนอกภาค

                   เกษตร ฟาร์มมีผลลัพธ์การดํารงชีพในระดับมาก ทั งด้านอาหาร เสื อผ้า ภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์

                   ของสมาชิกในครัวเรือน ความสัมพันธ์กับสมาชิกในชุมชนส่วนด้านอื นๆ มีความเป็นอยู่ระดับปานกลาง

                          ประเด็นที สาม ผลวิเคราะห์การรับรู้ความเสี ยงและกลยุทธ์จัดการความเสี ยงของฟาร์ม พบว่า
                   แหล่งกําเนิดความเสี ยงมี 9 แหล่งคือ ความเสี ยงด้านการผลิต ความเสี ยงด้านตลาด ความเสี ยงด้าน

                   การเงิน ความเสี ยงด้านแรงงาน ความเสี ยงด้านสภาพภูมิอากาศ ความเสี ยงด้านภัยธรรมชาติ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10