Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                          บทสรุปผู้บริหาร                  (1)


                                                  บทสรุปสําหรับผู้บริหาร



                                                          I วิธีวิจัย


                          วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี มีขึ นเพื อ 1) เพื อศึกษาการแบ่งประเภทเกษตรกรสวนยาง
                   โครงสร้างการผลิตและข้อจํากัดของระบบการผลิตในแต่ละประเภทเกษตรกรสวนยางในพื นที ภาคใต้

                   2) เพื อศึกษาระบบการดํารงชีพและความเปราะบางของครัวเรือนเกษตรกรสวนยางในแต่ละประเภท

                   3) เพื อศึกษาความเสี ยง การรับรู้ความเสี ยงและกลยุทธ์จัดการความเสี ยงของครัวเรือนเกษตรกรใน

                   แต่ละประเภท และ 4) เพื อประเมินความสามารถอยู่รอด (farm viability) ของครัวเรือนเกษตรกร

                   สวนยาง โดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลแบบผสานวิธี กล่าวคือ ใช้ทั งการ
                   สัมภาษณ์รายบุคคลในระดับครัวเรือนเกษตรกรสวนยาง และสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลัก

                   ผลการศึกษาที ได้สรุปจากการสังเคราะห์ วิเคราะห์เชิงพรรณนา และเชิงปริมาณจะขึ นกับวัตถุประสงค์

                   ของการศึกษาและลักษณะของข้อมูล


                                                        II ผลการวิจัย


                          ประเด็นที หนึ ง ครัวเรือนเกษตรกรสวนยางในภาคใต้สามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภทซึ งมี

                   โครงสร้างการผลิตและข้อจํากัดของระบบการผลิต โดยสรุปดังนี

                          (1) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมาก มีพื นที ถือครองขนาดเล็กมากเฉลี ย 7.4 ไร่ ที ดินเกือบ

                   ทั งหมดใช้ปลูกยางพาราเชิงเดี ยว มีความเพียงพอของแรงงานครัวเรือน  สวนยางเป็นแหล่งสร้าง
                   รายได้หลัก และแรงงานครัวเรือนมีการรับจ้างภาคเกษตร (กรีดยางหวะ) ฟาร์มประเภทนี มีข้อจํากัด

                   ด้านเงินทุน ถือครองที ดินขนาดเล็ก และใช้ระบบกรีดความถี สูง ความได้เปรียบหลักคือความเพียงพอ

                   และความสามารถทํางานของแรงงานครัวเรือน

                          (2) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็ก มีพื นที ถือครองขนาดเล็กเฉลี ย 11.9 ไร่ ที ดินเกือบทั งหมดใช้
                   ปลูกยางพาราเชิงเดี ยวและเป็นแหล่งสร้างรายได้หลัก มีความเพียงพอของแรงงานครัวเรือน

                   ในการทําสวนยางซึ งขนาดที ดินเพียงพอกับแรงงานครัวเรือนที มี และมีการจ้างแรงงานชั วคราว หัวหน้า

                   ครัวเรือนค่อนข้างสูงอายุที มีประสบการณ์ ความเชี ยวชาญและทักษะในการผลิตสูง ฟาร์มประเภทนี

                   ขาดความหลากหลายของแหล่งรายได้ และมีข้อจํากัดด้านเงินทุน มีความได้เปรียบในการแข่งขันจาก

                   การใช้แรงงานครัวเรือน และความยืดหยุ่นของระบบการผลิต
                          (3) ฟาร์มเจ้าของที ดินสวนยางขนาดเล็ก มีพื นที ถือครองขนาดเล็กเฉลี ย 15.5 ไร่ ที ดิน

                   เกือบทั งหมดใช้ปลูกยางพาราเชิงเดี ยว หัวหน้าครัวเรือนมีอาชีพหลักนอกภาคเกษตร สวนยางเป็น
   1   2   3   4   5   6   7   8