Page 4 -
P. 4
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(2) บทสรุปผู้บริหาร
แหล่งสร้างรายได้เสริม ใช้แรงงานจ้าง เจ้าของสวนยางใช้เวลาว่างในการดูแล และจัดการสวนยาง
ฟาร์มประเภทนี มีความพร้อมเงินทุนและมีการขยายพื นที สวนยางเพิ มขึ น ข้อจํากัดหลักคือ การขาด
แคลนแรงงาน เจ้าของที ดินมีเวลาจํากัดในการจัดการสวนยาง และบางรายขาดทักษะและความ
เชี ยวชาญในการทําสวนยาง
(4) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กที มีระบบการผลิตหลากหลาย มีพื นที ถือครองขนาดเล็กเฉลี ย
18.8 ไร่ มีการใช้ประโยชน์ที ดินอย่างเต็มที จากระบบการผลิตผสมผสานระหว่างสวนยางและทําเกษตร
อื นๆ ทั งแบบร่วมแปลงยางและแยกแปลง ใช้แรงงานจ้างในการทําสวนยางร่วมกับแรงงานครัวเรือน
มีแหล่งรายได้มากกว่าหนึ งแหล่ง สมาชิกในครัวเรือนที จบการศึกษาแล้วทํางานนอกภาคเกษตร
ฟาร์มประเภทนี มีความพร้อมของเงินทุน ทักษะและความเชี ยวชาญทางการเกษตร และหัวก้าวหน้า
แต่มีข้อจํากัดด้านการขาดแคลนแรงงานจ้างกรีดยางและแรงงานจ้างชั วคราวหายาก
(5) ฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลาง มีพื นที ถือครองมากกว่า 50 ไร่ ที ดินเกือบทั งหมดใช้
ปลูกยางพาราเชิงเดี ยว ซึ งเป็นแหล่งสร้างรายได้หลัก และมีรายได้จากธุรกิจต่อเนื อง เจ้าของสวนยาง
ทําหน้าที บริหารจัดการสวนยางและจัดการแรงงานจ้าง (กรีดหวะ) อย่างเป็นระบบ เจ้าของสวนยางเป็น
เกษตรกรที มีทักษะและความเชี ยวชาญ ใช้การจัดการสวนยางสมัยใหม่ มีทักษะทางธุรกิจสวนยาง
มีการใช้เงินทุนอย่างเข้มข้น เลือกใช้เทคโนโลยีที เหมาะสมและมีการขยายพื นที สวนยางเพิ มขึ น
ข้อจํากัดหลักคือ การขาดแคลนแรงงาน และแรงงานครัวเรือนรุ่นใหม่ที เข้ามาทดแทนแรงงานใน
ครัวเรือนสูงวัยมีอย่างจํากัด
ประเด็นที สอง ความเปราะบางและระบบการดํารงชีพของครัวเรือนสวนยาง โดยสรุปพบว่า
(1) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมาก หัวหน้าครัวเรือนอยู่ในวัยกลางคน มีประสบการณ์การทํา
สวนยางพาราเฉลี ย 19.6 ปี มีแรงงานเฉลี ย 2.6 คนต่อครัวเรือน ถือครองที ดินเป็นของตนเองขนาดเล็ก
เฉลี ย 7.4 ไร่ ความเปราะบางหลักคือ ราคายางพาราตกตํ า และราคาปัจจัยการผลิตเพิ มขึ น ที ส่งผลต่อ
การดํารงชีพของครัวเรือน ซึ งกลยุทธ์ย่อยการดํารงชีพที ครัวเรือนเลือกใช้ ได้แก่ การประหยัด
และลดค่าใช้จ่ายที ไม่จําเป็น การลดต้นทุนการผลิต เพิ มการรับจ้างภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร
และรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานรัฐ ฟาร์มมีผลลัพธ์การดํารงชีพในระดับมากด้านรายได้ เงินออม
ภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครัวเรือน และความสัมพันธ์กับสมาชิกในชุมชน
(2) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็ก หัวหน้าครัวเรือนเริ มเข้าสู่วัยสูงอายุ มีประสบการณ์การทํา
สวนยางพารามากกว่า 20 ปี มีแรงงานเฉลี ย 2.5 คนต่อครัวเรือน มีที ดินถือครองเป็นของตนเองเฉลี ย
11.9 ไร่ ราคายางพาราตกตํ า ราคาปัจจัยการผลิตเพิ มขึ น และความไม่แน่นอนของปริมาณฝน
เป็นความเปราะบางที ส่งผลต่อการดํารงชีพของครัวเรือน กลยุทธ์ย่อยดํารงชีพที ครัวเรือนเลือกใช้ ได้แก่
การประหยัด และลดค่าใช้จ่ายที ไม่จําเป็น การลดต้นทุนการผลิต เพิ มการทํางานนอกภาคเกษตร และ
การขอรับความช่วยเหลือจากภาครัฐ ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมีผลลัพธ์การดํารงชีพในระดับมาก