Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                          บทสรุปผู้บริหาร                  (5)


                          (5) ฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลาง มีการรับรู้ความเสี ยงด้านการผลิต การเงินและแรงงาน

                   เป็นอันดับต้นๆ โดยการรับรู้ความเสี ยงสูงสุดเกิดจากการใช้พันธุ์ยาง RRIM 600 อย่างเดียว รองลงมา
                   เป็นความเสี ยงจากรายได้นอกภาคเกษตรลดลง และการที สมาชิกครัวเรือนรุ่นใหม่ไม่สนใจทําเกษตร

                   ฟาร์มเลือกใช้กลยุทธ์ด้านสถาบันและด้านการผลิตเป็นสัดส่วนที สูง กลยุทธ์ย่อยที เกษตรกรเลือกใช้

                   ลําดับต้นๆ คือ การลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน รับการสนับสนุนชดเชยรายได้แก่เกษตรกรตามโครงการ

                   ชดเชยรายได้ และรับการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากภาครัฐ

                          ประเด็นที สี  ความสามารถอยู่รอดของครัวเรือนเกษตรกรสวนยางประเมินจากตัวชี วัด 4 ด้าน
                   จํานวน 16 ตัวชี วัด ผลประเมินพบว่า ครัวเรือนทุกประเภทมีความสามารถอยู่รอดโดยรวมในระดับปาน

                   กลาง ยกเว้นฟาร์มสวนยางธุรกิจขนาดกลางที มีความสามารถอยู่ในระดับมาก เมื อจําแนกผลประเมิน

                   ตามประเภทฟาร์มพบว่า (1) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมาก มีความสามารถอยู่รอดในระดับปาน

                   กลางทุกด้านยกเว้นด้านเศรษฐกิจที มีความสามารถอยู่รอดน้อย เช่นเดียวกับ (2) ฟาร์มสวนยาง

                   ขนาดเล็ก มีความสามารถอยู่รอดในระดับปานกลางทุกด้านยกเว้นด้านเศรษฐกิจที มีความสามารถอยู่
                   รอดน้อย (3) ฟาร์มเจ้าของที ดินสวนยางขนาดเล็ก มีความสามารถอยู่รอดในระดับปานกลางทุก

                   ด้านยกเว้นด้านสถาบันที มีความสามารถอยู่รอดระดับมาก (4) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กที มีระบบ

                   การผลิตหลากหลาย มีความสามารถอยู่รอดในระดับปานกลางทุกด้าน (5) ฟาร์มธุรกิจสวนยาง

                   ขนาดกลาง มีความสามารถอยู่รอดในระดับมาก โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจที มีความสามารถอยู่ใน
                   ระดับมากจนถึงมากที สุด



                                       III ข้อเสนอทางเลือกเชิงนโยบายจัดการความเสี ยง

                       ทีมวิจัยนําเสนอทางเลือกเชิงนโยบายจัดการความเสี ยง 6 ด้าน และ 18 มาตรการ โดยสรุปดังนี
                       1) แนวทางนโยบายจัดการความเสี ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติและสภาพภูมิอากาศ

                         1.1) มาตรการพัฒนาระบบเตือนภัยพิบัติธรรมชาติล่วงหน้าความแม่นยําสูงและระบบการ

                   จัดการภัยพิบัติในภาพรวม ภาครัฐจะต้องมีแผนรับมือฉุกเฉินที มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน
                   ภาครัฐ องค์กรปฏิบัติ ชุมชนและครัวเรือน ภาครัฐและหน่วยงานที เกี ยวข้องในพื นที มีความจําเป็นต้อง

                   พัฒนาระบบเตือนภัยพิบัติธรรมชาติล่วงหน้าและระบบการจัดการภัยพิบัติในพื นที  และควรกําหนดให้

                   มีการฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติรับมือกับสถานการณ์จําลองอย่างน้อยปีละ 1 ครั ง รวมทั งการจัดตั งสถานี

                   เตือนและรับมือภัยพิบัติธรรมชาติในระดับพื นที และมีการเชื อมโยงเป็นเครือข่ายทั วภาคใต้

                         1.2) มาตรการพัฒนาระบบพยากรณ์อากาศเพื อการเกษตรในท้องถิ นและระบบแจ้งเตือน
                   วัน-เวลาฝนตกที มีความแม่นยําสูงสําหรับชาวสวนยาง มีความจําเป็นต้องพัฒนาระบบพยากรณ์ที

                   สามารถระบุวันและเวลาฝนตกได้อย่างแม่นยําโดยการบูรณาการร่วมกันระหว่างกรมอุตุนิยมวิทยา

                   สํานักงานเกษตร การยางแห่งประเทศไทย และสถาบันการศึกษาในพื นที  ระบบการพยากรณ์ต้อง
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12