Page 11 -
P. 11
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทสรุปผู้บริหาร (9)
การพาณิชย์ในพื นที กึ งเมืองและพื นที ชนบท โดยเฉพาะธุรกิจการท่องเที ยงเชิงเกษตร การท่องเที ยว
เชิงวัฒนธรรม และอุตสาหกรรมเกษตร
5) แนวนโยบายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางการเกษตร
5.1) มาตรการพัฒนาเกษตรกรยุคใหม่
ภาครัฐต้องให้ความสําคัญกับการสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที มีคุณลักษณะคือ มีความรู้ใหม่
มีทักษะและความเชี ยวชาญรอบด้าน สามารถเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ และสามารถพัฒนาและเรียนรู้ด้วย
ตัวเองได้ ภาครัฐควรส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างต้นแบบเกษตรกรรุ่นใหม่ในแต่ละชุมชน
การส่งเสริมแรงงานรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคเกษตร และการพัฒนาเกษตรกรให้เป็น smart farmer นอกจากนี
ภาครัฐต้องมีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนในการประกอบอาชีพของเกษตรกรรุ่นใหม่เท่าที จําเป็น
และสามารถขยายผลเชิงกว้างในพื นที
5.2) มาตรการการจัดการแรงงานภาคเกษตรและการใช้จ้างแรงงานต่างด้าว
ภาครัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และสร้างแรงจูงใจแรงงานรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคเกษตร
โดยบูรณาการกับมาตรการพัฒนาเกษตรกรยุคใหม่ สําหรับการใช้แรงงานต่างด้าวในสวนยางยังคงมี
ความจําเป็นโดยเฉพาะสวนยางขนาดกลาง สวนยางขนาดใหญ่ และสวนยางที อยู่ในพื นที ห่างไกล
ภาครัฐต้องควบคุมการใช้แรงงานต่างด้าวที มีการจดทะเบียนการทํางานและมีการจัดสวัสดิการแรงงาน
อย่างเหมาะสม
5.3) มาตรการขับเคลื อนโครงข่ายความคุ้มครองทางสังคมสําหรับภาคเกษตร
ภาครัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื อนระบบโครงข่ายความคุ้มครองทางสังคม
(ระบบการออม และระบบสวัสดิการสังคม การให้บริการสังคม ระบบประกันสังคม ระบบการช่วยเหลือ
ทางสังคม และระบบการส่งเสริมสนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคม) และขยายกรอบความคุ้มครองทางสังคม
เพิ มขึ นสําหรับภาคเกษตร
5.4) มาตราการพัฒนาแรงงานภาคเกษตรยุคไทยแลนด์ 4.0
แนวทางการพัฒนาแรงงานประกอบด้วย (1) การเพิ มอุปทานแรงงานภาคเกษตร
โดยหน่วยงานที เกี ยวข้องควรเข้ามาดูแลและกํากับการทําสัญญาจ้างงานที เป็นธรรม และยกระดับ
คุณภาพชีวิตของแรงงานผ่านมาตรการสวัสดิการสังคม (2) การพัฒนาแรงงานกรีดยางควบคู่ไปกับการ
สร้างนวัตกรรมของการกรีดยาง ซึ งหน่วยงานที เกี ยวข้องควรเร่งผลิตนวัตกรรมการกรีดที มีความ
เหมาะสมกับเงื อนไขของสวนยางและบริบทของการจ้างงาน ในขณะเดียวกันภาครัฐควรส่งเสริม และ
สนับสนุนการพัฒนาแรงงานผ่านกระบวนการฝึกอบรม สร้างมาตรฐานฝีมือแรงงานกรีด และส่งเสริม
ระบบการศึกษาตลอดชีวิตตลอดจนการเพิ มความสามารถทางด้านเทคโนโลยีและข้อมูลสารสนเทศ
ของแรงงาน (3) พัฒนาตลาดแรงงานกรีดยาง การยางแห่งประเทศไทยหรือหน่วยงานที เกี ยวข้อง
สามารถเริ มจากการลงทะเบียนแรงงานกรีดยางจ้าง แรงงานที ประสงค์หางานกรีดและเจ้าของสวนยาง