Page 15 -
P. 15
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทคัดย่อ (13)
บทคัดย่อ
การศึกษาเรื องการรับรู้ความเสี ยงและกลยุทธ์จัดการความเสี ยงของเกษตรกรสวนยางใน
ภาคใต้ ประเทศไทย มีขึ นเพื อตอบวัตถุประสงค์ (1) เพื อศึกษาการแบ่งประเภทเกษตรกรสวนยาง
โครงสร้างการผลิตและข้อจํากัดของระบบการผลิตในแต่ละประเภทเกษตรกรสวนยางในพื นที ภาคใต้
(2) เพื อศึกษาระบบการดํารงชีพและความเปราะบางของครัวเรือนเกษตรกรสวนยางในแต่ละประเภท
(3) เพื อศึกษาความเสี ยง การรับรู้ความเสี ยง และกลยุทธ์จัดการความเสี ยงของครัวเรือนเกษตรกรใน
แต่ละประเภท และ (4) เพื อประเมินความสามารถอยู่รอดของครัวเรือนเกษตรกรสวนยาง โดยเจาะจง
เลือก 2 จังหวัดที เป็นตัวแทนของพื นที ภาคใต้ คือ จังหวัดสงขลาและพัทลุง ทีมวิจัยใช้วิธีวิจัยแบบ
ผสานวิธี กล่าวคือ ใช้ทั งการสัมภาษณ์เชิงลึก และสัมภาษณ์รายบุคคลโดยใช้แบบสอบถามโครงสร้าง
และกึ งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทั งสถิติเชิงพรรณนา และเชิงปริมาณ รวมทั งวิธีคิว
ผลการศึกษาพบว่า ครัวเรือนเกษตรกรสวนยางในภาคใต้สามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
คือ 1) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมาก 2) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็ก 3) ฟาร์มเจ้าของที ดินสวนยาง
ขนาดเล็ก 4) ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กที มีระบบการผลิตหลากหลาย และ 5) ฟาร์มธุรกิจสวนยาง
ขนาดกลาง ฟาร์มทุกประเภทมีแหล่งรายได้หลักจากยางพารา ยกเว้นฟาร์มเจ้าของที ดินสวนยาง
ขนาดเล็กที มียางพาราเป็นแหล่งรายได้เสริม สําหรับฟาร์มสวนยางขนาดเล็กและฟาร์มสวนยาง
ขนาดเล็กมากถือครองที ดินขนาดเล็ก ใช้แรงงานครัวเรือนที มีอย่างเพียงพอและระบบเกษตรสวนยาง
เชิงเดี ยว ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมากทํางานทั งในสวนยางตนเองและรับจ้างภาคเกษตร (กรีดยาง
หวะ) สําหรับฟาร์มเจ้าของที ดินสวนยางขนาดเล็กนั นเจ้าของที ดินทํางานเต็มเวลาในนอกภาคเกษตร
ถือครองที ดินขนาดเล็ก ใช้ระบบเกษตรสวนยางเชิงเดี ยว ใช้แรงงานจ้างและใช้เวลาว่างในการจัดการ
สวนยาง ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กที มีระบบการผลิตหลากหลายใช้ทั งแรงงานครัวเรือนและแรงงานจ้าง
มีระบบเกษตรผสมผสาน สําหรับฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลางถือครองที ดินขนาดกลาง ใช้ระบบ
เกษตรสวนยางเชิงเดี ยว ใช้แรงงานจ้าง และเจ้าของสวนยางทําหน้าที บริหารธุรกิจสวนยางและธุรกิจ
ต่อเนื องกับยางพารา
ผลลัพธ์การดํารงชีพของฟาร์มสวนยางแต่ละประเภทขึ นอยู่กับทุนการดํารงชีพ ระบบการผลิต
กลยุทธ์การดํารงชีพ นโยบายรัฐ/สถาบัน และความเปราะบางของฟาร์มแต่ละประเภท ฟาร์มทั งหมด
กําลังเผชิญกับความเปราะบางที เกิดจากการลดลงของราคายางพารา การเพิ มขึ นของราคาปัจจัย
การผลิต การลดลงของราคาผลผลิตเกษตรอื นๆ และการเพิ มขึ นของค่าจ้างแรงงาน และยังได้รับ
ผลกระทบเชิงลบจากการเปลี ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ สภาพภูมิอากาศ และเทคโนโลยี
โดยภาพรวมฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมากและฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมีความแข็งแรงของทุนมนุษย์แต่
ความเพียงพอและความพร้อมใช้ของทุนทางกายภาพ ทุนธรรมชาติและทุนการเงินตํ ากว่าเมื อ