Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      (15)
                                                          บทคัดย่อ                                    (13)

                   ขึ นกับกลยุทธ์ย่อยการขยายพื นที สวนยางพารา การปรับเปลี ยนจํานวนวันกรีดยาง และการเพิ มการ

                   ผลิตอาหารและสัตว์เพื อใช้บริโภคในครัวเรือนหรือการค้า ฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลางเลือกใช้
                   กลยุทธ์ปรับเปลี ยนรูปแบบการผลิตให้มีความเหมาะสม และการขยายการปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื นๆ

                   เช่นเดียวกับกลยุทธ์จัดการแรงงานและสัญญาจ้างถูกให้ความสําคัญมากขึ น ปัจจัยสังคมและ

                   เศรษฐกิจที มีอิทธิพลต่อกลยุทธ์จัดการความเสี ยงได้แก่ อายุ เพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทํา

                   การเกษตร จํานวนสมาชิกในครัวเรือน การทํางานนอกภาคเกษตร การทํางานรับจ้างภาคเกษตร

                   การใช้แรงงานจ้าง รายได้ครัวเรือน หนี สิน ขนาดที ดิน การรับการสงเคราะห์การปลูกทดแทนจากการ
                   ยางแห่งประเทศไทย การเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร และประเภทเกษตรกร อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ

                          ผลการประเมินความสามารถอยู่รอดของครัวเรือนเกษตรกรสวนยางโดยใช้ตัวชี วัด

                   ความสามารถอยู่รอด 4 ด้านหลัก ประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ

                   สิ งแวดล้อม ด้านสังคม และด้านสถาบัน ชี ให้เห็นว่า โดยภาพรวมฟาร์มทุกประเภทมีความสามารถใน

                   การอยู่รอดในระดับปานกลาง ยกเว้นฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลางที มีความสามารถในการอยู่รอด
                   ในระดับมาก ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมากและฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมีความสามารถอยู่รอดด้าน

                   เศรษฐกิจในระดับน้อย ในขณะที ฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลางมีความสามารถอยู่รอดด้านเศรษฐกิจ

                   ในระดับมากถึงมากที สุด

                          จากผลการศึกษา รัฐบาลควรพิจารณาทางเลือกเชิงนโยบายจัดการความเสี ยงที จําเป็น ได้แก่
                   1) การจัดการความเสี ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติและสภาพภูมิอากาศ 2) การจัดการความเสี ยงด้าน

                   ราคาและตลาด 3) การจัดการความเสี ยงด้านการผลิต 4) การจัดการความเสี ยงทางการเงิน

                   5) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางการเกษตร และ 6) มาตรการส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลใน

                   กระบวนการกําหนดนโยบายและการทํางานของภาครัฐ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22