Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                      ในปี พ.ศ.2557  กลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์น ้าต าบลท่าซุงได้รับคัดเลือกให้เป็นสถาบันเกษตรกรดีเด่น โดยมีข้อเด่นใน
               การมีความคิดริเริ่มและมีแผนงานในอนาคต มีความสามารถในการบริหารจัดการ สมาชิกมีส่วนร่วมและมีบทบาทใน
               การด าเนินงานของสถาบัน มีความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจ มีการท ากิจกรรมสาธารณประโยชน์และอนุรักษ์

               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งน่าจะน าไปเป็นตัวอย่างการด าเนินงานจัดตั้งองค์กรชุมชนในพื้นที่อื่นๆได้
               นอกจากนี้กลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์น ้าท่าซุงยังได้สร้างเครือข่ายระหว่างกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น ้าในอ าเภอเดียวกันเพื่อ
               แลกเปลี่ยนความรู้ข่าวสารการผลิตและการตลาด เพื่อการต่อรองธุรกิจ  และยังพัฒนาการเลี้ยงปลาแรดลุ่มน ้าสะแกกรัง
               ผลักดันให้มีการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic  indication,  GI) เป็นตัวอย่างกิจกรรมที่ได้ผลทาง
               การตลาด นอกจากนี้กลุ่มฯยังมีกิจกรรมออมทรัพย์และระดมหุ้นรวมทั้งให้เงินกู้จัดหาแหล่งทุนเพื่อการบริหารจัดการ
               กลุ่มสามารถพึ่งตนเองได้ไม่ต้องรองบประมาณจากรัฐ เป็นการจัดองค์กรที่สมควรน ามาเป็นกรณีศึกษาเพื่อถอดแบบ

               การจัดองค์กรชุมชนส าหรับการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าต่อไป

                      สหกรณ์ผู้เลี้ยงปลานิลได้แก่ 1)  สหกรณ์ประมงพาน จ ากัด เป็นการจัดองค์กรโดยเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล มี
               การด าเนินงานสร้างเครือข่ายกับกลุ่มผู้เลี้ยงปลานิลในพื้นที่ใกล้เคียง ปัจจุบันกรมประมงมีโครงการส่งเสริมเครือข่าย
               กลุ่มเกษตรกร เข้าไปด าเนินการในพื้นที่นี้ เป็นตัวอย่างการจัดองค์กรชุมชนที่มีการบริหารจัดการได้ดี สามารถเป็น

               ตัวอย่างในการศึกษาการจัดองค์กรชุมชนของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า และ 2) สหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงและแปรรูปสัตว์
               น ้า นครนายก จ ากัด พัฒนามาจากสหกรณ์ประมงปลานิลจิตรลดา จ ากัด ซึ่งเคยเป็นหนึ่งในสมาชิกชุมนุมสหกรณ์ผู้
               เลี้ยงกุ้งแห่งประเทศไทย จ ากัด  เมื่อชุมนุมฯ ต้องยกเลิกไป ประธานคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ฯ ได้เรียนรู้การ
               ด าเนินงานจากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกชุมนุมสหกรณ์ฯ สามารถพัฒนาการตลาดปลานิล และท าสัญญาขายผลผลิต

               ให้แก่เทสโก้โลตัสได้ มีช่องทางในการพัฒนาสหกรณ์ฯ ทั้งยังได้รับการส่งเสริมจากหน่วยราชการจังหวัดนครนายกให้
               พัฒนากิจการสหกรณ์ฯ มีแนวโน้มที่จะพัฒนาขยายกิจกรรมของสมาชิกพื้นที่ต่อไป ทั้งยังสนใจสร้างเครือข่ายกับ
               สหกรณ์ในต่างพื้นที่อีกส่วนหนึ่ง

                      สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้ง สี่สหกรณ์ คือ 1) สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าสามร้อยยอด-ปราณบุรี  จ ากัด 2) สหกรณ์ผู้เลี้ยง

               กุ้งลุ่มน ้าท่าทอง จ ากัด 3) สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าปากพนัง จ ากัด และ 4)  สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน ้าจันทบุรี จ ากัด ต่าง
               เคยเป็นสมาชิกชุมนุมสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งแห่งประเทศไทย จ ากัด การรวมตัวของชุมนุมสหกรณ์ฯ ที่ผ่านมาเป็นการ
               รวมกันจัดองค์กรโดยให้ความส าคัญแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งรายเล็ก ด าเนินงานหลักด้านการรวบรวมซื้อขายผลผลิต จัด
               ช่องทางการตลาดให้แก่ผลผลิตของสมาชิกผ่านโมเดิร์นเทรด เคยท าพันธสัญญาขายกุ้งให้ห้องเย็นเพื่อการส่งออก
               นอกจากนี้ยังพยายามพัฒนาช่องทางการตลาดในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ที่ผ่านมาประสบความส าเร็จในการ
               รวบรวมกุ้งส่งขายให้แก่เทสโก้โลตัส สามารถส่งออกกุ้งผ่านกัมพูชาผ่านเข้าไปยังเวียดนาม ซึ่งคาดว่าขายต่อให้ประเทศ

               จีน และส่งออกกุ้งชีวภาพไปยังประเทศญี่ปุ่น การจัดองค์กรชุมชนในรูปแบบของชุมนุมสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งแห่งประเทศ
               ไทย จ ากัด เป็นรูปแบบการพัฒนาการจัดตั้งองค์กรชุมชนในขอบเขตที่กว้างขวางขึ้น และแม้การด าเนินงานของสหกรณ์
               ผู้เลี้ยงกุ้งที่ผ่านมาส่วนมากไม่ประสบความส าเร็จเนื่องจากปัญหาเรื่องของการรวมศูนย์อ านาจไว้ที่ประธานกรรมการ
               ด าเนินการฯ และขาดการให้ความส าคัญแก่สมาชิกในการร่วมคิดร่วมท า แต่น่าสนใจว่าเมื่อหันมารวมตัวกันจัดตั้งชุมนุม
               สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งแห่งประเทศก็สามารถด าเนินงานได้และมีแนวทางในการขยายงาน แต่เนื่องจากมีสหกรณ์บางแห่ง

               ลาออกท าให้มีจ านวนสมาชิกไม่ครบตามระเบียบที่ก าหนดไว้จึงต้องล้มเลิกชุมนุมฯ ไป ไม่สามารถจดทะเบียนเป็นนิติ
               บุคคลได้ ในทางปฏิบัติปัจจุบันยังมีความร่วมมือกันในรูปของเครือข่ายผู้เลี้ยงสัตว์น ้า  จึงควรน ามาเป็นกรณีศึกษา
               เรียนรู้ข้อเด่น ข้อด้อย ปัญหาและอุปสรรคตลอดจนข้อจ ากัดของการจัดองค์กรชุมชนระดับนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการจัด
               องค์กรชุมชนโดยการสร้างเครือข่ายสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรให้สามารถเจรจาต่อรองธุรกิจ สร้างรายได้ที่
               ยั่งยืนให้แก่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้าต่อไป





                                                           1-10
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49