Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า (Ecosystem Approach to Aquaculture, EAA) เพื่อให้การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าสามารถท า
               ได้อย่างบูรณาการโดยค านึงถึง สภาวะสังคม สภาวะเศรษฐกิจ และสภาวะกายภาพสิ่งแวดล้อม ให้เป็นการพัฒนาที่
               ยั่งยืน มีความเป็นธรรม โดยค านึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและนิเวศ ดังได้กล่าวมา บูรณาการประเด็นความรู้

               เกี่ยวกับสัตว์น ้า นโยบายการพัฒนาการเพาะเลี้ยง และการจัดการการเพาะเลี้ยง การด าเนินการให้ความส าคัญแก่
               บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งต้องอาศัยการจัดองค์กรที่เข้มแข็ง และการก าหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยยึดหลักว่า
               การพัฒนาจะต้องไม่ท าให้เกิดความเสียหายแก่ระบบนิเวศ เอื้อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างเป็น
               ธรรม และค านึงถึงความเกี่ยวข้องกับภาคส่วนอื่นๆ


                      การศึกษาครั้งนี้พิจารณาแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศวิธีในส่วนที่เกี่ยวกับองค์กรชุมชนสี่ประเด็น คือ 1)
               ความสัมพันธ์ระหว่างการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้ากับระบบนิเวศ 2) ปัญหาของการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า 3) ความสัมพันธ์ระหว่าง
               คนในชุมชน และ 4)  การท างานขององค์กรชุมชนกับภาคส่วนอื่น โดยให้ความส าคัญแก่การด าเนินงานขององค์กร
               ชุมชนในสี่ประเด็นนี้ ทั้งนี้อยู่บนสมมุติฐานว่าการมีความตระหนักในระบบนิเวศ-สังคมที่องค์กรชุมชนมีอยู่ จะน าไปสู่
               การพัฒนาอย่างยั่งยืน ความเป็นธรรม และการคืนสภาพของระบบนิเวศ-สังคมในที่สุด


                       6)  ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดองค์กรชุมชน การศึกษาการจัดองค์กรชุมชนในครั้งนี้จะใช้เครื่องมือทั้งห้า
               ดังกล่าวมาข้างต้นมาประมวลเพื่อระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดองค์กรชุมชน ปัจจัยที่ก าหนดความส าเร็จ มีทั้งปัจจัย
               ภายในองค์กร และ ปัจจัยภายนอกองค์กร ปัจจัยภายในองค์กรประกอบด้วย 1)  ปัจจัยด้านบุคคล ทั้ง สมาชิก ผู้น า
               องค์กร และ พนักงาน 2) ปัจจัยด้านพื้นที่ ได้แก่ ที่ตั้งขององค์กร 3) ปัจจัยด้านทุนด าเนินงานขององค์กร และ 5) ปัจจัย
               ด้านการด าเนินงานขององค์กร ได้แก่ บริการการผลิต การจัดหาปัจจัยการผลิต การรวบรวมผลผลิต การให้สินเชื่อ การ

               ออมทรัพย์ การแปรรูป การตลาด การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการสื่อสารท าความเข้าใจกับสมาชิก
               ปัจจัยภายนอกองค์กร ประกอบด้วย 1)  ปัจจัยด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานของกรมประมง
               เจ้าหน้าที่จากสหกรณ์จังหวัดรวมทั้งกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้น าท้องถิ่น ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้าน เจ้าหน้าที่ที่
               เกี่ยวข้องอื่นๆ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ 2) ปัจจัยด้านพื้นที่ ได้แก่ สภาวะแวดล้อม การคมนาคม การสื่อสาร ตลาด

               ปัจจัยการผลิต และตลาดผลผลิต 3) ปัจจัยด้านทุนสนับสนุนการด าเนินงานขององค์กรที่ได้รับจากหน่วยงานอื่นๆ และ
               5) ปัจจัยด้านความสนับสนุนด าเนินงานขององค์กร ที่ได้จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

                       ผลที่ได้จากการศึกษาดังกล่าวมาข้างต้นจะน ามาประมวลเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาความสามารถของผู้
               เลี้ยงสัตว์น ้ารายเล็กในประเทศไทยด้วยการจัดองค์กรชุมชนในที่สุด



               1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย

                     1. ศึกษาตัวอย่างการจัดองค์กรชุมชนเพื่อการสร้างเสริมสมรรถนะของผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้ารายเล็ก


                     2. ระบุปัจจัยที่ก าหนดความส าเร็จในการจัดองค์กรชุมชนผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้าในประเทศไทย

                     3. เสนอแนวทางการจัดองค์กรชุมชนเพื่อสร้างเสริมสมรรถนะของเกษตรกรในการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า

                      ของประเทศไทย









                                                           1-8
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47