Page 130 -
P. 130

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                            รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                  โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                             ๒๕๕๗
                    ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


               Infiltration Capacity) พบว่าช่วงกลางศตวรรษการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะท าให้ปริมาณน้ าจากพื้นที่ต้น
               น้ าล าธารของน้ าแม่ปิงที่ไหลลงสู่เขื่อนภูมิพลลดลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ในระยะยาวกลับพบว่าปริมาณน้ าจะไหลลง

               สู่เขื่อนเป็นจ านวนมาก (ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2553) นอกจากนั้น
               ยังพบว่าปริมาณน้ าท่าจะเพิ่มสูงขึ้นในช่วงฤดูฝน ท าให้เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติน้ าท่วม

                              นอกจากนั้น เมื่อสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้งขึ้น ย่อมมีโอกาสเกิดไฟไหม้ป่าได้ง่ายขึ้น

               ซึ่งประชาชนท้องถิ่นควรต้องมีการตั้งรับปรับตัวในเรื่องไฟป่า และปัญหาหมอกควันที่จะตามมาอีกด้วย

                              ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีผลต่อระบบนิเวศของแหล่งธรรมชาติ
               ภูเขา และส่งผลสืบเนื่องต่อชีวิตความเป็นอยู่ทั้งภาคเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประชาชนท้องถิ่น ส่งผล

               ต่อการท่องเที่ยว และการเกษตรในพื้นที่ตอนล่างของภูเขา อย่างไรก็ดี กิจกรรมการตั้งรับปรับตัวต่อผลกระทบที่
               อาจส่งผลต่อระบบนิเวศภูเขาและการด ารงชีวิตของประชาชนท้องถิ่นพบว่ายังมีอยู่จ ากัด แนวทางหรือวิธีการที่

               เหมาะสม คือ การให้ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนท้องถิ่น และด าเนิน
               กระบวนการปรึกษาหารือกับชุมชนท้องถิ่น เพื่อก าหนดภาพจ าลองของการพัฒนาชุมชนที่เหมาะสมกับ

               สถานการณ์ทั้งที่มีผลกระทบและไม่มีผลกระทบเกิดขึ้น ในพื้นที่ที่ด าเนินการมาแล้ว เช่น เกาะเต่า จังหวัดชุมพร
               และเกาะกลาง จังหวัดกระบี่ พบว่า แนวทางการปรับตัวที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด คือ ทิศทางการพัฒนา

               สีเขียว ทั้งเพื่อลดการสร้างกาซเรือนกระจกอันเป็นผลท าให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรุนแรงมากขึ้น
               และสามารถรับมือกับความเสี่ยงต่างๆได้เหมาะสมที่สุด

                       5.5.5  ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา

                             ปัญหาที่พบในระบบนิเวศภูเขา คือการท าลายพื้นที่ป่าบนภูเขาที่ส่งผลต่อความหลากหลายทาง

               ชีวภาพ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการกระท าของมนุษย์ โดยสามารถสรุปปัญหาที่เกิดขึ้นได้ดังนี้

                               1)  การขยายตัวของชุมชนเมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เข้ามาในเขตภูเขา ท าลาย

                                   สภาพธรรมชาติและป่าไม้บริเวณต้นน้ าล าธาร ก่อให้เกิดผลกระทบต่อปริมาณน้ า
                                   คุณภาพน้ า และระยะเวลาการไหลของน้ า ซึ่งท าให้เกิดน้ าท่วม แผ่นดินถล่มตามมา

                                   เนื่องจากขาดป่าไม้ช่วยดูดซับน้ า และดินเสื่อมสมรรถนะในการเก็บกักน้ า
                                   รุกล้ าถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่า ท าให้สัตว์ป่ามีโอกาสสูญพันธุ์

                               2)  โครงการก่อสร้างต่าง ๆ ที่รุกล้ าพื้นที่ป่าบนภูเขา เช่น การตัดถนน การสร้างเขื่อน

                                   ขนาดใหญ่ การท าเหมืองแร่ เป็นต้น ท าให้เกิดการตัดขาดของผืนป่าเป็นหย่อมๆ มีผลต่อ
                                   การเคลื่อนย้ายของสัตว์ป่า และการสืบต่อพันธุ์ในลักษณะเลือดชิด ท าให้ประชากร
                                   อ่อนแอ

                               3)  การลักลอบล่าสัตว์และเก็บหาของป่า การตัดไม้ท าลายป่า ท าไร่เลื่อนลอย บุกรุก
                                  แผ้วถางป่าพื้นที่ต้นน้ าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจ ส่งผลต่อสมดุลของระบบนิเวศ

                               4)  ภัยธรรมชาติ เช่น ไฟป่า ดินโคลนถล่ม หลุมยุบ น้ าท่วม เป็นต้น ภัยธรรมชาติเหล่านี้ล้วน
                                  ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศภูเขาได้ทั้งสิ้น




                                                         5-38
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135