Page 128 -
P. 128

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                            รายงานฉบับสมบูรณ์   กันยายน
                                  โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                                             ๒๕๕๗
                    ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา


                               ล าธารที่ส าคัญในการผลิตน้ าจืดหล่อเลี้ยงชีวิตมนุษย์ที่จ าเป็นต่อการอุปโภคบริโภค
                               เพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม และการผลิตกระแสไฟฟ้า ร้อยละ 22 ของระบบนิเวศภูเขาเป็น

                               พื้นที่ที่มีความเปราะบางและง่ายต่อการถูกคุกคาม  พื้นที่ภูเขาหลายแห่งเป็นพื้นที่ที่มีความ
                               หลากหลายทางชีวภาพสูงหรือเป็นพื้นที่วิกฤติทางความหลากหลายทางชีวภาพ  ซึ่งมีความ

                               หลากหลายของชนิดพันธุ์ทั้งพืชและสัตว์เฉพาะถิ่นและชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์ นอกจากนี้ยังพบว่า
                               ระบบนิเวศภูเขามีความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่สูงกับพื้นที่ต่ าในเชิงของทรัพยากรน้ าและดิน
                               รวมทั้งมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมในระดับสูง  โดยเฉพาะบทบาทของชุมชนพื้นเมือง

                               และท้องถิ่นที่จะมีวิถีชีวิตสอดคล้องกับการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทาง
                               ชีวภาพของระบบนิเวศภูเขา อาจกล่าวได้ว่าระบบนิเวศภูเขาเป็นระบบนิเวศที่มีความ

                               สลับซับซ้อน มีความอุดมสมบูรณ์ของพันธุ์พืชและสัตว์ซึ่งแปรผันตามระดับความสูง ลักษณะ
                               ทางธรณีวิทยา และสภาพภูมิอากาศ


                           2)   ประโยชน์เพื่อการท่องเที่ยวและพักผ่อน ซึ่งมีทั้งแหล่งที่เป็นการท่องเที่ยวที่ระดับท้องถิ่นไป
                               จนถึงเป็นแหล่งที่มีผู้รู้จักในระดับนานาชาติ เช่น ดอยหลวงเชียงดาว ดอยอ่างขาง ภูกระดึง
                               เขาตาปู เขาพิงกัน แหลมพรมเทพ เป็นต้น ส่วนใหญ่ที่เปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวจะอยู่ในความ

                               ดูแลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช หรือกรมทรัพยากรธรณี ซึ่งมีสิ่งอ านวย
                               ความสะดวกค่อนข้างเหมาะสมดีอยู่แล้ว มีเพียงบางแห่งเท่านั้นที่มีการพัฒนาเกิดขึ้นมาจาก

                               ในอดีต ยังไม่ได้ค านึงถึงผลกระทบต่อโครงสร้างและภูมิทัศน์ของพื้นที่ จึงท าให้เกิดผลกระทบ
                               จากการพัฒนาสิ่งก่อสร้างอยู่บ้างในบางแห่ง นอกจากนั้น บางแหล่งยังเป็นพื้นที่ที่ได้รับความ

                               นิยมสูงในขณะที่พื้นที่ค่อนข้างจ ากัด ท าให้เกิดปัญหาความแออัดของนักท่องเที่ยวในช่วง
                               ฤดูกาลท่องเที่ยว และการจัดเก็บขยะที่มีปริมาณมากในพื้นที่ เช่น ภูกระดึง ภูสอยดาว

                               เป็นต้น ผลกระทบที่พบค่อนข้างมากอีกประการหนึ่ง คือ การทิ้งร่องรอยของนักท่องเที่ยว
                               การเหยียบย่ า การท าลายพืชพรรณ และเส้นทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติทั้งที่ตั้งใจและมิได้
                               ตั้งใจ ซึ่งจะท าให้แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาสูญเสียคุณค่าลงไปอย่างน่าเสียดาย

                           3)   ประโยชน์เพื่อการเป็นแหล่งเรียนรู้ การศึกษาวิจัย แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาสามารถเป็น
                               แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับพืชพรรณ สัตว์ป่า ระบบนิเวศป่าไม้ ธรณีวิทยา และการเปลี่ยนแปลง

                               ของโลกได้เป็นอย่างดี แม้จะมีผู้นิยมไปท่องเที่ยว ก็ยังมีการสื่อความหมายเพื่อการเรียนรู้
                               การให้ความเข้าใจเรื่องระบบนิเวศธรรมชาติ รวมถึงการศึกษาวิจัยพืชพรรณ สัตว์ป่า

                               พืชเฉพาะถิ่น เพื่อสร้างความรู้เฉพาะด้านนี้ เป็นต้น อาทิเช่น ดอยหลวงเชียงดาว
                               ที่มีพืชเฉพาะถิ่นของสังคมพืชกึ่งอัลไพล์ เป็นต้น

                           4)   ประโยชน์เพื่อการเกษตรกรรม แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา
                               ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะภูเขาสูงในเขตภาคเหนือ มักมีชุมชนตั้งอยู่ในพื้นที่ภูเขา ระบบการ

                               ผลิตบนที่สูง เป็นระดับที่สนับสนุนระบบการผลิตแบบยังชีพของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ เช่น
                               ปาเกาะญอ ม้ง ลีซอ อาข่า มูเซอ เย้า ไทยใหญ่ ไทยลื้อ ลัวะ คะฉิ่น จีนฮ่อ ปะหล่อง เป็นต้น

                               ระบบการผลิตสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ คือ ชาติพันธุ์ที่มีวิถีชีวิตอิงการผลิตข้าว


                                                         5-36
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133