Page 127 -
P. 127
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายงานฉบับสมบูรณ์ กันยายน
โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒๕๕๗
ที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยจัดท ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติประเภทภูเขา
ตารางที่ 5-8 (ต่อ)
ชื่อไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ ลักษณะ ถิ่นที่อยู่อาศัย สถานภาพ
ช้าง Elephas maximus สัตว์เลี้ยงลูก เขตรักษาพันธุ์- EN
ด้วยนม สัตว์ป่าภูหลวง
และอุทยานแห่งชาติ
ภูกระดึง
กระทิง Bos gaurus สัตว์เลี้ยงลูก เขตรักษาพันธุ์- VU
ด้วยนม สัตว์ป่าภูหลวงและ
อุทยานแห่งชาติ
ภูกระดึง
เต่าปูลู Platysternon สัตว์เลื้อยคลาน เขตรักษาพันธุ์- EN
megacephalum สัตว์ป่าภูหลวง
และอุทยานแห่งชาติ
ภูกระดึง
ลิงเสน Macaca arctoides สัตว์เลี้ยงลูก เขตรักษาพันธุ์- VU
ด้วยนม สัตว์ป่าภูหลวง
นกกระเรียน Grus antigone สัตว์ปีก อุทยานแห่งชาติ VU
ภูกระดึง
เต่าเดือย Impressed tortoise สัตว์เลื้อยคลาน อุทยานแห่งชาติ VU
ภูกระดึง
หมายเหตุ
EN (Endangered) = สถานภาพใกล้สูญพันธุ์
VU (Vulnerable) = สถานภาพอ่อนไหวง่ายต่อการคุกคาม
5.5.3 คุณค่าการใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน
แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาส่วนใหญ่มีการใช้ประโยชน์ใน 3 ลักษณะ คือ
1) คุณค่าประโยชน์ในตัวของแหล่งธรรมชาติประเภทภูเขาทางระบบนิเวศ ลักษณะทาง
นิเวศวิทยาของภูเขานั้นจะแตกต่างกันไปตามระดับความสูง ความชัน ทิศทางและรูปร่างของ
ภูเขา ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) คือ ระบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งไม่มีชีวิตบนภูเขาที่มีความสลับซับซ้อนของพืชและสัตว์ซึ่งแปรผันไปตามระดับความสูง
ลักษณะหิน ดิน สภาพภูมิอากาศ และมนุษย์ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 27 ของโลก
(ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2552) เป็นแหล่งสืบทอด
พันธุกรรมซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารและยารักษาโรค นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งต้นน้ า
5-35