Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                 หน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม  (Ecological Function)


                 เนื่องด้วยแหล่งผลิตอาหารและผู้บริโภคมีระยะทางที่ใกล้กันส าหรับ
          การท าเกษตรในเมืองท าให้การใช้พลังงานเพื่อการขนส่ง การแปรรูป และการ
          บรรจุหีบห่อลดลง (Bohn and Viljoen, 2005; cited in Lovell, 2010) การ

          บริโภคอาหารที่ใช้พลังงานในการขนส่งน้อย (Low-mile food) มีผลท าให้
          ปริมาณการปลดปล่อยกาซเรือนกระจกลดลง ลดผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน
          (Deelstra and Giradet, 2000; cited in Lovell, 2010)


                 ของเสียจากเมือง เช่น ขยะอินทรีย์ น้ าเสีย สามารถหมุนเวียนน า
          กลับมาเพื่อใช้เป็นปุ๋ยส าหรับการท าเกษตรกรรม (Holmer and Drescher,
          2005; cited in Lovell, 2010; Hara et al., 2010)


                 นอกจากนี้ พื้นที่เกษตรกรรมที่ประกอบไปด้วยพื้นที่รับน้ าขนาดใหญ่
          และพืชพรรณยังมีศักยภาพช่วยลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม
          (Nugent, 1999) ได้แก่ การที่การท าเกษตรในเมืองมีลักษณะผสมผสาน
          ระหว่างพื้นที่เมืองกับพื้นที่เกษตรกรรมจึงสามารถช่วยบรรเทาสภาวะเกาะ

          ความร้อนของเมือง (Yokohari et al., 1997) ช่วยเพิ่มร่มเงา ปรับสมดุลความ
          ชุ่มชื้น และลดความรุนแรงของพายุ (Deelstra and Giradet, 2000; cited
          in Lovell, 2010) ลดผลกระทบของอุทกภัย (Takaya, 1987; Yoshida,

          2011)

                 หน้าที่ด้านสังคมวัฒนธรรม (Cultural Function)


                 การท าเกษตรในเมืองถือได้ว่าเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับเมือง ซึ่ง
          ให้ประโยชน์ทางด้านคุณภาพทางสายตา (Visual Quality) สุขภาพ และความ
          เป็ น อ ยู่ ที่ ดี  (Well-being) (Koont, 2009; Smardon, 1988; cited in
          Lovell, 2010) นอกจากนี้การท าเกษตรในเมืองยังช่วยส่งเสริมให้เกิดกิจกรรม

          ทางสังคมและการร่วมมือกันกับผู้อื่น (Holmer and Drescher, 2005; cited


                                         6
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20