Page 301 -
P. 301
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-33
พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดยกเลิกในป พ.ศ 2535 มีการประกาศใชพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา
พ.ศ 2535 ในราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 15 วันที่ 28 กุมภาพันธ 2535 บทบัญญัติมาตรา 33 ไดใหอํานาจ
ในการกําหนด เขตรักษาพันธุสัตวปา
(2.1) หลักเกณฑการกําหนดเขตรักษาพันธุสัตวปา
1. เปนบริเวณที่มีสัตวปาชุกชุมและมีสัตวปาชนิดที่หาไดยาก หรือกําลังจะ
สูญพันธุอาศัยอยู
2. เปนบริเวณที่มีแหลงน้ําแหลงอาหารและที่หลบภัยของสัตวปา
เพียงพอ
3. เปนพื้นที่ปาไมที่อยูหางไกลจากชุมชนพอสมควร
4. มีสภาพปาหลายลักษณะอยูในผืนเดียวกัน เปนตนวามีทั้งปาดงดิบ
ปาเบญจพรรณ ทุงหญา ฯลฯ ซึ่งจะทําใหมีความหลากหลายทางพืชและสัตวปาสูง
5. จะตองเปนพื้นที่ที่ไมอยูในกรรมสิทธิ์หรือครอบครองโดยชอบดวย
กฎหมายของบุคคลใด
(2.2) ขั้นตอนการดําเนินการ
1. สํารวจขอมูลเบื้องตน
2. เสนอองคการบริหารสวนตําบลเพื่อใหความเห็นชอบ
3. เสนอที่ประชุมอําเภอเพื่อใหความเห็นชอบ
4. เสนอคณะอนุกรรมการปองกันและปราบปรามการลักลอบทําลาย
ทรัพยากรประจําจังหวัดใหความเห็นชอบ
5. เสนอคณะกรรมการสงวนคุมครองสัตวปาใหความเห็นชอบ
6. เสนอรางพระราชกฤษฎีกาใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา
7. เสนอรางพระราชกฤษฎีกาใหคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณา
8. เสนอรางพระราชกฤษฎีกาที่ตรวจแกไขเรียบรอยแลวเสนอเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี
9. นายกรัฐมนตรีนําทูลเกลาเพื่อลงพระปรมาภิไธย
10. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(2.3) เนื้อที่เขตรักษาพันธุสัตวปา
เนื้อที่เขตรักษาพันธุสัตวปาเพิ่มขึ้นจาก 0.54 ลานไร ใน พ.ศ. 2509 ถึง พ.ศ.
2556 มีเขตรักษาพันธุสัตวปารวม 58 แหง เนื้อที่ 23,080,854 ไร (ตารางที่ 3-13 และตารางที่ 3-14)
ถึงแมวาเจตนารมยของกฎหมายฉบับนี้จะไดเนนถึงการสงวนและคุมครองสัตวปาก็ตามแต
การกําหนดเขตรักษาพันธุสัตวปานั้น ทําใหมีพื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มขึ้น เปนการวางแผนการใชที่ดินเพื่อ
กําหนดเขตพื้นที่อนุรักษ