Page 300 -
P. 300
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-32
ตารางที่ 3-12 (ตอ)
เนื้อที่
ลําดับ อุทยานแหงชาติ จังหวัด / ภาค
ตร.กม. ไร
21 สิรินาถ ภูเก็ต 90.00 56,250.00
22 บางลาง ยะลา 261.00 163,125.00
23 ลําน้ํากระบุรี ระนอง 160.00 100,000.00
24 หมูเกาะระนอง (หมูเกาะพยาม) ระนอง 356.70 222,938.00
25 น้ําตกหงาว ระนอง ชุมพร 668.00 417,500.00
26 แหลมสน ระนอง พังงา 315.00 196,875.00
27 เขาน้ําคาง สงขลา 212.00 132,500.00
28 ตะรุเตา สตูล 1,490.00 931,250.00
29 ทะเลบัน สตูล 196.00 122,500.00
30 หมูเกาะอางทอง สุราษฎรธานี 102.00 63,750.00
31 เขาสก สุราษฎรธานี 738.74 461,712.50
32 แกงกรุง สุราษฎรธานี 541.00 338,125.00
33 ใตรมเย็น สุราษฎรธานี 425.00 265,625.00
34 คลองพนม สุราษฎรธานี 410.40 256,500.00
รวมทั้งประเทศ 62,198.86 38,874,288.44
ที่มา: กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช (2556: 1)
(2) เขตรักษาพันธุสัตวปา (Wildlife Sanctuary)
คือพื้นที่กําหนดขึ้นเพื่อใหเปนที่อยูอาศัยของสัตวปาโดยปลอดภัย เพื่อวาสัตวใน
พื้นที่ดังกลาวจะไดมีโอกาสสืบพันธุ และขยายพันธุตามธรรมชาติไดมากขึ้นทําใหสัตวปาบางสวนไดมีโอกาส
กระจายจํานวนออกไปในทองที่แหงอื่น ๆ ที่อยูใกลเคียงกับเขตรักษาพันธุสัตวปา
ในป พ.ศ 2503 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา
พ.ศ 2503 ในราชกิจจานุเบกษาเลม 77 ตอนที่ 108 วันที่ 27 ธันวาคม 2503 โดยมีเหตุผลในการ
ประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ “สัตวปาเปนทรัพยากรธรรมชาติอันมีคายิ่งของประเทศชนิดหนึ่งที่
อํานวยประโยชนในทางเศรษฐกิจ วิทยาการ และรักษาความงาม ตลอดจนคุณคาตามธรรมชาติไว แต
ปรากฎวาในปจจุบันนี้สัตวปาที่มีคาบางชนิดไดถูกลาและทําลายจนสูญพันธุไปแลวและบางชนิดก็กําลังจะ
สูญพันธุไป ทั้งนี้เนื่องจากประเทศไทยยังไมมีกฎหมายใหความคุมครองแกสัตวปาโดยเฉพาะ จึงสมควรตรา
กฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวปาขึ้นไวเพื่อประโยชนของรัฐ และประชาชนสวนรวม ใหสมกับที่
ชาวไทยสวนใหญเปนพุทธมามกะ” บทบัญญัติมาตรา 19 ไดใหอํานาจในการกําหนดเขตรักษาพันธุสัตวปา