Page 36 -
P. 36
ผู้บริโภค นั่นเอง กล่าวโดยสรุป ส่วนเกินของผู้บริโภค ก็คือ มูลค่าความยินดีที่จะ
จ่ายของผู้บริโภคในส่วนที่เกินกว่ามูลค่าค่าใช้จ่ายที่ผู้บริโภคจ่ายจริงในการบริโภค
สินค้าหรือบริการ
นอกจากนี้ พื้นที่ที่ใช้แสดงส่วนเกินของผู้บริโภค ในทาง
คณิตศาสตร์สามารถคํานวณได้จากการอินทิเกรตพื้นที่ใต้เส้นอุปสงค์
(Q
( P
f
) ) ในส่วนที่เกินจากค่าใช้จ่ายจริงของผู้บริโภค ซึ่งแสดงด้วยสมการ
ดังต่อไปนี้
Q
ส่วนเกินของผู้บริโภค = พื้นที่ ABP
(Q
1
f
P
) dQ
Q
1
1
1
0
2.2.1.2 ส่วนเกินของผู้ผลิต (Producer’s Surplus: P.S.)
ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ หรือ เรียกว่า ส่วนเกินของ
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ส่วนเกินของผู้ผลิตสามารถคํานวณได้จากมูลค่าในส่วนที่เกินจากต้นทุน
การผลิตสินค้าหรือบริการของผู้ผลิต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ “กําไร” ของ
ผู้ผลิตนั่นเอง ในทํานองเดียวกันกับหลักการของอุปสงค์ ทุกจุดที่เชื่อมต่อกันเป็น
จำาหน่ายสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตที่ปริมาณและราคาในระดับต่างๆ
เส้นอุปทาน (Supply Curve) แสดงถึง ความยินดีที่จะจําหน่ายสินค้าหรือบริการ
หรือถ้าพิจารณาในอีกมิติหนึ่ง เส้นอุปทานก็คือ ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal
ของผู้ผลิตที่ปริมาณและราคาในระดับต่างๆ หรือถ้าพิจารณาในอีกมิติหนึ่ง เส้น
Cost: MC) ของผู้ผลิตในส่วนที่อยู่เหนือจากต้นทุนเฉลี่ย กล่าวคือ เป็นต้น
อุปทานก็คือ ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Cost: MC) ของผู้ผลิตในส่วนที่อยู่เหนือ
ทุนที่ผู้ผลิตต้องจ่ายเพิ่มขึ้นจากการตัดสินใจผลิตหรือจำาหน่ายสินค้า/บริการ
จากต้นทุนเฉลี่ย กล่าวคือ เป็นต้นทุนที่ผู้ผลิตต้องจ่ายเพิ่มขึ้นจากการตัดสินใจ
ผลิตหรือจําหน่ายสินค้า/บริการเพิ่มขึ้น 1 หน่วย (หรือ P f (Q ) )
เพิ่มขึ้น 1 หน่วย (หรือ) MC
จากภาพที่ 2.2 แสดงให้เห็นว่า เมื่อผู้ผลิตตัดสินใจจําหน่ายสินค้า
จากภาพที่ 2.2 แสดงให้เห็นว่า เมื่อผู้ผลิตตัดสินใจจำาหน่าย
หรือบริการที่ระดับราคา P 1 บาทต่อหน่วย ในปริมาณ Q 1 หน่วย รายรับรวมที่
สินค้าหรือบริการที่ระดับราคา P บาทต่อหน่วย ในปริมาณ Q หน่วย
1
ผู้ผลิตรายนี้ได้รับคิดเป็นมูลค่า P 1xQ 1 บาท โดยผู้ผลิตมีต้นทุนการผลิตอยู่ที่ระดับ 1
รายรับรวมที่ผู้ผลิตรายนี้ได้รับคิดเป็นมูลค่า P xQ บาท โดยผู้ผลิตมีต้นทุน
M บาทต่อหน่วย ดังนั้น ต้นทุนการผลิตรวมทั้งหมดจึงเท่ากับพื้นที่ใต้เส้นอุปทาน 1
1
การผลิตอยู่ที่ระดับ M บาทต่อหน่วย ดังนั้น ต้นทุนการผลิตรวมทั้งหมดจึง
หรือคิดเป็นพื้นที่เท่ากับ 0MBQ 1 ดังนั้น ส่วนเกินของผู้ผลิตสามารถคํานวณเป็น
เท่ากับพื้นที่ใต้เส้นอุปทาน หรือคิดเป็นพื้นที่เท่ากับ 0MBQ ดังนั้น ส่วน
มูลค่าได้เท่ากับพื้นที่ MP 1B และสามารถแสดงให้อยู่ในรูปแบบสมการทาง 1
คณิตศาสตร์ได้ดังนี้ เกินของผู้ผลิตสามารถคำานวณเป็นมูลค่าได้เท่ากับพื้นที่ MP B และสามารถ
1
แสดงให้อยู่ในรูปแบบสมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้
ส่วนเกินของผู้ผลิต = พื้นที่ MP 1 B P 1 Q 0 Q 1 f (Q ) dQ
ร�ค�ต่อหน่วย
ราคาต่อหน่วย
(P)
Supply Curve
P 1 B
P.
M
0 Q 1 ปริม�ณสินค้�/บริก�ร(Q)
ปริมาณสินค้า/บริการ (Q)
ภาพที่ 2-2 ส่วนเกินของผู้ผลิต
ที่มา: กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (2553)
สําหรับผลงานวิจัยทั้งประเภทที่เป็นงานวิจัยพื้นฐานและประงานวิจัย
18 ประยุกต์นั้น ผลประโยชน์ส่วนใหญ่แสดงอยู่ในลักษณะดังนี้
1) การสร้างองค์ความรู้พื้นฐานเพื่อการต่อยอดงานวิจัยในขั้นต่อไป
2) การเพิ่มปริมาณผลผลิต ซึ่งมีผลต่อการเคลื่อนย้ายของเส้นอุปทานใน
ระบบเศรษฐกิจ
3) การเพิ่มคุณภาพผลผลิต โดยทั่วไปเป็นสาเหตุให้เส้นอุปสงค์ในระบบ
เศรษฐกิจมีการเคลื่อนย้ายได้
4) การลดต้นทุนการผลิต เป็นประโยชน์ต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค
5) การเพิ่มคุณภาพชีวิตและสังคม ผลประโยชน์ส่วนใหญ่เป็น
ผลประโยชน์ที่ไม่มีมูลค่าทางการเงิน แต่เป็นผลประโยชน์ทางด้านสังคม
วัฒนธรรม และสุขภาพอนามัย เป็นต้น