Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                    2.2.1.1 ส่วนเกินของผู้บริโภค (Consumer’s Surplus: C.S.)

                    การพิจารณาส่วนเกินของผู้บริโภคนั้น  เป็นการพิจารณาถึง

          ผลประโยชน์สุทธิที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ โดยต้นทุน
          ของผู้บริโภค  คือ  มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคทำาการจ่ายเงินไป

          ระดับราคา  และปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคพึงพอใจในการบริโภค
          นั้น บ่งบอกถึงระดับของความยินดีที่จะจ่ายของผู้บริโภคเพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้า

          หรือบริการเหล่านั้น ดังนั้น ผลตอบแทนที่ผู้บริโภคจะได้รับนอกเหนือจาก

           ยังได้รับความพึงพอใจจาการบริโภคสินค้าหรือบริการนั้นๆ อีกด้วย ซึ่งการวัด
          ตัวสินค้าหรือบริการแล้ว ผู้บริโภคยังได้รับความพึงพอใจจาการบริโภคสินค้า
           มูลค่าความพึงพอใจดังกล่าวก็คือการวัดมูลค่าส่วนเกินของผู้บริโภคนั่นเอง ดัง
          หรือบริการนั้นๆ  อีกด้วย  ซึ่งการวัดมูลค่าความพึงพอใจดังกล่าวก็คือการ
           แสดงใน ภาพที่ 2-1
          วัดมูลค่าส่วนเกินของผู้บริโภคนั่นเอง ดังแสดงใน ภาพที่ 2-1
              ร�ค�ต่อหน่วย
                ราคาต่อหน่วย
                   (P)
                          A





                            C.
                       P 1            B
                                          Demand Curve


                                                C
                        0            Q 1           ปริม�ณสินค้�/บริก�ร(Q)
                                                    ปริมาณสินค้า/บริการ (Q)

           ภาพที่ 2-1 ส่วนเกินของผู้บริโภค
          ภาพที่ 2-1 ส่วนเกินของผู้บริโภค
           ที่มา: กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (2553)

          ที่ม�: กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (2553)
                  ภายใต้หลักการของอุปสงค์ ทุกจุดที่เชื่อมต่อกันเป็นเส้นอุปสงค์
            (Demand curve) แสดงถึง ความยินดีที่จะจ่ายของผู้บริโภคในการบริโภคสินค้า
                  ภายใต้หลักการของอุปสงค์  ทุกจุดที่เชื่อมต่อกันเป็นเส้นอุปสงค์
           หรือบริการที่ปริมาณและราคาในระดับต่างๆ จากภาพที่ 2-1 ซึ่งแสดงแบบแผน
          (Demand curve) แสดงถึง ความยินดีที่จะจ่ายของผู้บริโภคในการบริโภค
           ของอุปสงค์การบริโภค (ในที่นี้แสดงด้วยเส้นอุปสงค์)  ของผู้บริโภครายหนึ่ง โดย
           พื้นที่ทั้งหมดภายใต้เส้นอุปสงค์ (พื้นที่ 0AC) แสดงถึง มูลค่ารวมของความยินดีที่
           จะจ่ายของผู้บริโภคในการบริโภคสินค้าหรือบริการ ซึ่งเมื่อผู้บริโภครายนี้ตัดสินใจ
      16   ซื้อสินค้าหรือบริการในปริมาณ Q 1 หน่วย และยินดีที่จะจ่ายเงินในราคา P 1  บาท
           ต่อหน่วย เป็นผลให้ค่าใช้จ่ายที่ผู้บริโภครายนี้จ่ายไปมีมูลค่าทั้งหมดเท่ากับ P 1xQ 1
           บาท หรือคิดเป็นพื้นที่ 0P 1BQ 1 ดังนั้น พื้นที่ส่วนที่อยู่เหนือค่าใช้จ่ายของผู้บริโภค
           และอยู่ภายใต้เส้นอุปสงค์หรือพื้นที่ P 1AB   นั้น คือ ผลประโยชน์ส่วนเกินที่
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39