Page 39 -
P. 39
ไม่สามารถนำมาใช้ประเมินมูลค่าทางการเงินได้โดยตรง แต่อาจต้องใช้วิธี
6) การเพิ่มคุณภาพสิ่งแวดล้อม ผลประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมเป็น
ในการประเมินมูลค่าทางอ้อมแทนดังแสดงในภาพที่ 2-3 ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่สามารถและไม่สามารถวัดเป็นมูลค่า โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพ
ทางการเงินได้
ลักษณะของผลงานวิจัยดังกล่าวข้างต้น สามารถสร้างผลกระทบ การพิจารณาคัดสรรงานวิจัย
ต่อเศรษฐกิจและสังคมได้โดยผ่านการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ในระบบเศรษฐกิจ เป็นผลให้ผลประโยชน์ที่อยู่ในรูปของส่วนเกินทางเศรษฐกิจ งานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต์
สังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์
เปลี่ยนแปลงไปด้วย ทั้งนี้ งานวิจัยทุกโครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อก่อให้เกิด
ผลประโยชน์สุทธิที่สามารถคำนวณเป็นส่วนเกินทางเศรษฐกิจที่มีมูลค่า การลงทุนในงานวิจัย
เป็นบวกทั้งสิ้น โดยทั่วไป ผลประโยชน์จากงานวิจัยสามารถจำแนกออกเป็น ลักษณะของผลงานวิจัย
3 กลุ่มหลักๆ ด้วยกัน คือ ผลประโยชน์ที่มีต่อ การผลิต การบริโภค และ
องค์ความรู้พื้นฐาน การเพิ่มปริมาณผลผลิต การเพิ่มคุณภาพผลผลิต
สังคม/สิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ เมื่อนำหลักการทางเศรษฐศาสตร์มาพิจารณา การลดต้นทุนการผลิต การเพิ่มคุณภาพชีวิต/สังคม การเพิ่มคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ประเมินผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับ 3 กลุ่ม ดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่า
ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับสองกลุ่มแรกนั้น ผลประโยชน์ส่วนใหญ่สามารถ ผลประโยชน์จากงานวิจัย
แสดงเป็นมูลค่าของเงินตราได้อย่างชัดเจน เนื่องจากสินค้าและบริการ
ในกลุ่มของการผลิตและการบริโภคนั้น มีระบบราคาที่ผ่านกลไกตลาดเป็น ด้านการผลิต ด้านการบริโภค ด้านสังคม/สิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดมูลค่าทางการเงินอย่างชัดเจน ดังนั้น ผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์
มูลค่าทางตรง มูลค่าทางอ้อม
จาการลงทุนในงานวิจัยต่างๆ จึงสามารถประเมินได้จากส่วนเกินของผู้ผลิต
ส่วนเกินของผู้บริโภค หรือส่วนเกิน ทางเศรษฐกิจได้โดยตรง นอกจากนี้ ส่วนเกินทางเศรษฐกิจ มูลค่าจากการใช้ประโยชน์
ผลประโยชน์จากงานวิจัยที่เกิดขึ้น ในสองกลุ่มนี้ยังรวมถึงผลประโยชน์ ส่วนเกินของผู้บริโภค มูลค่าจากการไม่ได้ใช้ประโยชน์
ทางอ้อม ซึ่งไม่อาจวัดเป็นมูลค่าทางการเงินได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม ส่วนเกินของผู้ผลิต มูลค่าจากการไม่ได้ใช้ประโยชน์
ผลประโยชน์จากงานวิจัยที่เกิดขึ้นกับกลุ่มของสังคม/สิ่งแวดล้อมนั้น
การประเมินผลประโยชน์ค่อนข้างมีลักษณะเฉพาะตัว กล่าวคือ ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์จากงานวิจัย
ที่เกิดขึ้นประกอบด้วยผลประโยชน์ ทางตรงที่สามารถคำนวณให้อยู่ในรูป ภาพที่ 2-3 กรอบการประเมินผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์จากงานวิจัย
ของมูลค่าทางการเงินได้หาก ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นมีระบบราคาตลาดเป็น ภาพที่ 2-3 กรอบการประเมินผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์จากงานวิจัย
ที่ม�: กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (2553)
ตัวชี้วัด และผลประโยชน์ ทางอ้อมที่เกิดขึ้นในกรณีที่ระบบราคาตลาด ที่มา: กัมปนาท วิจิตรศรีกมล (2553)
20 21
21