Page 35 -
P. 35

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


            สินค้าหรือบริการที่ปริมาณและราคาในระดับต่างๆ  จากภาพที่  2-1  ซึ่ง

            แสดงแบบแผนของอุปสงค์การบริโภค (ในที่นี้แสดงด้วยเส้นอุปสงค์) ของ
            ผู้บริโภครายหนึ่ง โดยพื้นที่ทั้งหมดภายใต้เส้นอุปสงค์ (พื้นที่ 0AC) แสดง
            ถึง  มูลค่ารวมของความยินดีที่จะจ่ายของผู้บริโภคในการบริโภคสินค้าหรือ

            บริการ  ซึ่งเมื่อผู้บริโภครายนี้ตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการในปริมาณ  Q
                                                                          1
            หน่วย และยินดีที่จะจ่ายเงินในราคา P บาทต่อหน่วย เป็นผลให้ค่าใช้จ่าย
                                             1
            ที่ผู้บริโภครายนี้จ่ายไปมีมูลค่าทั้งหมดเท่ากับ P xQ  บาท หรือคิดเป็นพื้นที่
                                                   1  1
            0P BQ  ดังนั้น พื้นที่ส่วนที่อยู่เหนือค่าใช้จ่ายของผู้บริโภคและอยู่ภายใต้เส้น
               1  1
            อุปสงค์หรือพื้นที่ P AB นั้น คือ ผลประโยชน์ส่วนเกินที่ผู้บริโภคได้รับจาก
                             1
            การบริโภคสินค้าหรือบริการ หรือ เรียกว่า ส่วนเกินของผู้บริโภค นั่นเอง
            กล่าวโดยสรุป ส่วนเกินของผู้บริโภค ก็คือ มูลค่าความยินดีที่จะจ่ายของผู้
                ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ หรือ เรียกว่า ส่วนเกินของ
            บริโภคในส่วนที่เกินกว่ามูลค่าค่าใช้จ่ายที่ผู้บริโภคจ่ายจริงในการบริโภค
                ผู้บริโภค นั่นเอง กล่าวโดยสรุป ส่วนเกินของผู้บริโภค ก็คือ มูลค่าความยินดีที่จะ
            สินค้าหรือบริการ
                จ่ายของผู้บริโภคในส่วนที่เกินกว่ามูลค่าค่าใช้จ่ายที่ผู้บริโภคจ่ายจริงในการบริโภค
                สินค้าหรือบริการ
                     นอกจากนี้ พื้นที่ที่ใช้แสดงส่วนเกินของผู้บริโภค ในทางคณิตศาสตร์

                           นอกจากนี้ พื้นที่ที่ใช้แสดงส่วนเกินของผู้บริโภค ในทาง
            สามารถคำานวณได้จากการอินทิเกรตพื้นที่ใต้เส้นอุปสงค์ ( P =  f  (Q )) ในส่วน
                คณิตศาสตร์สามารถคํานวณได้จากการอินทิเกรตพื้นที่ใต้เส้นอุปสงค์
            ที่เกินจากค่าใช้จ่ายจริงของผู้บริโภค ซึ่งแสดงด้วยสมการดังต่อไปนี้
                ( P   f (Q ) )  ในส่วนที่เกินจากค่าใช้จ่ายจริงของผู้บริโภค ซึ่งแสดงด้วยสมการ
                ดังต่อไปนี้

            ส่วนเกินของผู้บริโภค = พื้นที่  ABP 1    0 Q 1  f  (Q ) dQ  P  Q
                ส่วนเกินของผู้บริโภค = พื้นที่
                                                            1
                                                                1
                       2.2.1.2 ส่วนเกินของผู้ผลิต (Producer’s Surplus: P.S.)
                     2.2.1.2 ส่วนเกินของผู้ผลิต (Producer’s Surplus: P.S.)
                       ส่วนเกินของผู้ผลิตสามารถคํานวณได้จากมูลค่าในส่วนที่เกินจากต้นทุน
                     ส่วนเกินของผู้ผลิตสามารถคำานวณได้จากมูลค่าในส่วนที่เกิน
              การผลิตสินค้าหรือบริการของผู้ผลิต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ “กําไร”  ของ
                ผู้ผลิตนั่นเอง ในทํานองเดียวกันกับหลักการของอุปสงค์ ทุกจุดที่เชื่อมต่อกันเป็น
            จากต้นทุนการผลิตสินค้าหรือบริการของผู้ผลิต  หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ
                เส้นอุปทาน (Supply Curve) แสดงถึง ความยินดีที่จะจําหน่ายสินค้าหรือบริการ
            “กำาไร” ของผู้ผลิตนั่นเอง ในทำานองเดียวกันกับหลักการของอุปสงค์ ทุกจุด
                ของผู้ผลิตที่ปริมาณและราคาในระดับต่างๆ หรือถ้าพิจารณาในอีกมิติหนึ่ง เส้น
            ที่เชื่อมต่อกันเป็นเส้นอุปทาน (Supply Curve) แสดงถึง ความยินดีที่จะ
                อุปทานก็คือ ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Cost: MC) ของผู้ผลิตในส่วนที่อยู่เหนือ
                จากต้นทุนเฉลี่ย กล่าวคือ เป็นต้นทุนที่ผู้ผลิตต้องจ่ายเพิ่มขึ้นจากการตัดสินใจ
                ผลิตหรือจําหน่ายสินค้า/บริการเพิ่มขึ้น 1 หน่วย (หรือ MC   P   f  (Q ) )
                                                                             17
                           จากภาพที่ 2.2 แสดงให้เห็นว่า เมื่อผู้ผลิตตัดสินใจจําหน่ายสินค้า
                หรือบริการที่ระดับราคา P 1 บาทต่อหน่วย ในปริมาณ Q 1 หน่วย รายรับรวมที่
                ผู้ผลิตรายนี้ได้รับคิดเป็นมูลค่า P 1xQ 1  บาท โดยผู้ผลิตมีต้นทุนการผลิตอยู่ที่ระดับ
                M  บาทต่อหน่วย ดังนั้น ต้นทุนการผลิตรวมทั้งหมดจึงเท่ากับพื้นที่ใต้เส้นอุปทาน
                หรือคิดเป็นพื้นที่เท่ากับ 0MBQ 1 ดังนั้น ส่วนเกินของผู้ผลิตสามารถคํานวณเป็น
                มูลค่าได้เท่ากับพื้นที่ MP 1B และสามารถแสดงให้อยู่ในรูปแบบสมการทาง
                คณิตศาสตร์ได้ดังนี้
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40