Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                      บทที่ 1 อรัมภบท  1
                                                                      1
                                                                      บทที่










                                 อารัมภบท









               1.1  คว�มสำ�คัญและเหตุผล

                                        ในช่วงห้�ทศวรรษที่ผ่�นม� ประเทศไทยได้พัฒน�ส�ย
                                 พันธุ์ข้�วโพดเลี้ยงสัตว์ม�อย่�งต่อเนื่อง  โดยนับตั้งแต่กรม

                                 กสิกรรมหรือกรมวิช�ก�รเกษตรในปัจจุบันได้นำ�เข้�ข้�วโพด
                                 พันธุ์กัวเตม�ล�ม�ทดสอบและทดลองปรับปรุงพันธุ์ในประเทศ
                                 ช่วงปี พ.ศ. 2500-2510 ทำ�ให้เกิดส�ยพันธุ์ข้�วโพดเลี้ยง
                                 สัตว์สำ�หรับปลูกในประเทศไทยครั้งแรกชื่อว่� “พระพุทธบ�ท”
                                 จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2517 ได้มีก�รแนะนำ�ข้�วโพดส�ยพันธุ์

                                 ใหม่ที่ชื่อว่�  “สุวรรณ  1”  ซึ่งถือว่�เป็นคว�มสำ�เร็จในก�ร
                                 ปรับปรุงพันธุ์ข้�วโพดเลี้ยงสัตว์ของไทยอย่�งยิ่ง เนื่องจ�ก
                                                     ้
                                 เป็นพันธุ์ที่ทนโรคร�นำ�ค้�งและให้ผลผลิตสูง  นอกจ�กนี้
                                 ยังสร้�งมูลค่�ท�งเศรษฐกิจและเป็นร�กฐ�นในก�รพัฒน�
                                 ต่อยอดอุตส�หกรรมก�รผลิตเมล็ดพันธุ์และข้�วโพดเลี้ยง
                                 สัตว์ในภ�คเอกชนจวบจนปัจจุบัน


                     จากการพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของประเทศไทยในช่วงเวลาที่ผ่านมา ได้นำาไปสู่

               การพัฒนางานวิจัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในภาคเอกชนที่มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น และก่อให้เกิดมูลค่า
               ทางเศรษฐกิจในอุตสาหกรรมการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของประเทศ อย่างไรก็ตาม มูลค่าผล
               ประโยชน์จากงานวิจัยดังกล่าวกลับยังไม่ได้มีการประเมินไว้อย่างชัดเจน ดังนั้น การประเมิน
               มูลค่าของผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทั้งใน

               รูปของผลประโยชน์ทางตรงที่สามารถประเมินเป็นมูลค่าทางการตลาดได้ และผลประโยชน์
               ทางอ้อมที่มีมูลค่าแต่ไม่สามารถประเมินในทางการตลาดได้นั้น จึงเป็นพันธกิจที่สำาคัญประการ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15