Page 194 -
P. 194

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

               176    การถ่ายโอนพลังงานและการหมุนเวียนของอากาศ








               ทิศทางเป็นเส้นโค้ง  เนื่องจากผลสุทธิของแรงสู่ศูนย์กลาง  (net  centripetal  force,  NCF)  บังคับ

               ทิศทางให้ลมเป็นเส้นโค้ง ลมชนิดนี้เกิดรอบบริเวณที่มีความดันอากาศสูงหรือรอบบริเวณที่มีความ

               ดันอากาศต ่าที่ระดับความสูงมากกว่า 1,000 เมตร และมีทิศทางของการเคลื่อนที่ของลมขนานกับ
               เส้นชั้นความดันอากาศ (isobaric lines) ดังภาพที่ 7.7


                    ที่    L   PGF  >  CF เล็กน้อย = NCF     แรงสู่ศูนย์กลางซึ่งท าให้การเคลื่อนที่ของ

                        H     CF  >  PGF เล็กน้อย = NCF      อากาศเป็นเส้นโค้งรอบจุดศูนย์กลาง

               เมื่อ   V  =  ความเร็วลมคงที่

               จากกฎข้อที่สองของนิวตัน         amF
                                                  -4
                                      2
                                     v /r – 1.46  10  Vsin + (1/ )(p)  = 0
                                                                a

                      ลมหมุนวนทวนเข็มนาฬิกา                    ลมหมุนวนตามเข็มนาฬิกา
                           (cyclonic wind)                        (anticyclonic wind)












                          กลุ่มอากาศ (air parcel)


               ภาพที่  7.7  ทิศทางของลมหมุนวนทวนเข็มนาฬิกาในบริเวณที่มีความดันอากาศต ่าและลมหมุนวน
                         ตามเข็มนาฬิกาในบริเวณที่มีความดันอากาศสูง
                         ที่มา  :  ดัดแปลงจาก Ahrens  (1988)


                             3. ลมผิวพื้น (Surface wind)



                                ในชั้นของอากาศที่มีความเสียดทาน  เช่น  บริเวณพื้นผิวโลก  การเคลื่อนที่ของ
               อากาศบริเวณนี้จะได้รับแรงเสียดทานกระท าให้มีทิศทางการเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง ดังสมการที่ 7.8


                                     CF + F  =  PGF                                                 . . . (7.8)
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199