Page 189 -
P. 189
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อุตุนิยมวิทยา 171
100
0.001
เย็น
80 0.01
0.1
ความสูง (km) 40 อุ่น 1 ความดัน (mb)
60
เย็น 10
20 เย็น อุ่น 100
0 1000
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
90 70 50 30 10 10 30 50 70 90
เส้นศูนย์สูตร
Summer hemisphere Winter hemisphere
ภาพที่ 7.2 เส้นชั้นอุณหภูมิเฉลี่ยตามความสูงและตามเส้นรุ้งในช่วงเวลาที่พลังงานจากดวงอาทิตย์
ตั้งฉากกับเส้นรุ้ง 23.5 องศาเหนือและใต้ เส้นประแสดงขอบเขตโทรโพพอส
(Tropopause) สตราโตพอส (Stratopause) และเมโซพอส (Mesopause)
ที่มา : ดัดแปลงจาก Wallace and Hobbs (1977)
7.2 การเคลื่อนที่ของอากาศ
ลมเกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีความมหัศจรรย์มาก การเคลื่อนที่ของมวลอากาศใน
แนวนอนท าให้มีการกระจายและหมุนเวียนอากาศไปยังต าแหน่งต่างๆ บนผิวโลก การเคลื่อนที่ของ
อากาศในแนวตั้งมีความส าคัญในการเกิดเมฆและฝน การเคลื่อนที่ของมวลอากาศเกิดจากแรง
ต่างๆ กระท าต่อมวลอากาศ แรงดังกล่าวประกอบด้วย แรงเกรเดียนท์ของความดันอากาศ แรงบิด
จากการหมุนของโลกหรือแรงโคริออลิสและแรงเสียดทานจากความขรุขระของพื้ นผิวโลก ดังมี
รายละเอียดต่อไปนี้
7.2.1 แรงที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของกลุ่มอากาศ
แรงที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของกลุ่มอากาศมี 4 ชนิด (ภาพที่ 7.3) คือ
1. แรงดึงดูดจากความโน้มถ่วงของโลก (Gravitational force, GF) เนื่องจากอากาศ
มีมวลจึงได้รับแรงดึงดูดจากความโน้มถ่วงของโลก ซึ่งเป็นไปตามกฎของแรงดึงดูดระหว่างมวล