Page 184 -
P. 184

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี











                                                  บทที่ 7
                                                  บทที่ 7



                                การถ่ายโอนพลังงานและ
                                การถ่ายโอนพลังงานและ


                                การหมุนเวียนของอากาศ
                                การหมุนเวียนของอากาศ





                 7.1 อุณหภูมิ ความดัน และความหนาแน่นของอากาศ
                 7.1  อุณหภูมิ ความดัน และความหนาแน่นของอากาศ

                 7.2 การเคลื่อนที่ของอากาศ
                 7.2  การเคลื่อนที่ของอากาศ

                 7.3 การหมุนเวียนของอากาศ
                 7.3  การหมุนเวียนของอากาศ



                  สาระส าคัญของการถ่ายโอนพลังงานและการหมุนเวียนของอากาศ  กล่าวถึง

                  บทบาทของโมเลกุลของอากาศเมื่อได้รับความร้อน ท าให้อุณหภูมิและความดัน

                 ของอากาศเปลี่ยนแปลง  พื้นที่ที่มีความดันสูงกว่าจะมีการเคลื่อนที่ของอากาศ

                 ไปยังพื้นที่ที่มีความดันของอากาศต ่ากว่า อิทธิพลการหมุนของโลกท าให้ทิศทาง

                 ลมเบี่ยงเบนไปเช่นเดียวกันกับความขรุขระของพื้นผิวโลกท าให้เกิดแรงเสียด

                 ทานที่สามารถเบี่ยงเบนทิศทางลมและลดความเร็วลม





                             บรรยากาศเป็นสมาชิกหนึ่งที่อยู่ร่วมกันกับสมาชิกอื่นในระบบพื้นพิภพ  ซึ่ง
               ประกอบด้วย  อุทกภาค  (Hydrosphere)  หรือสมาชิกส่วนที่เป็นแหล่งน ้าและมหาสมุทร  ชีวภาค


               (Biosphere) หรือสมาชิกส่วนที่เป็นสิ่งที่มีชีวิต และธรณีภาค (Lithosphere) หรือพื้นพิภพที่เป็นดิน

               และหิน มวลของอากาศในบรรยากาศมีปริมาณเพียง 1 ส่วนใน 300 ส่วนของมวลของน ้าในอุทก
               ภาค
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189