Page 186 -
P. 186

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

               168    การถ่ายโอนพลังงานและการหมุนเวียนของอากาศ








                                                                                       2
                       g  =  ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก มีค่า 9.8 เมตรต่อ(วินาที)
                                                                      6
                       R   =  ค่ารัศมีเฉลี่ยของโลก มีค่าประมาณ 6.37  10  เมตร
                        E
                                                                                    5
                             ผลการค านวณค่าความดันอากาศที่ผิวโลกมีค่าเฉลี่ยประมาณ 10  Pascal (Pa) หรือ
               ประมาณ 14.7 ปอนด์ต่อตารางนิ้วหรือประมาณ 1 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร


                                 เนื่องจากความหนาแน่นของอากาศลดลงตามความสูง  เกรเดียนท์ของความ
               หนาแน่นของอากาศบริเวณใกล้ผิวโลก มีค่าสูงกว่าที่ระดับสูงขึ้นไป ความดันอากาศที่ระดับสูงขึ้น

               ไปจึงมีค่าต ่ากว่าที่ผิวโลก  (ภาพที่  7.1)  เกรเดียนท์ของความดันอากาศหรือการเปลี่ยนแปลงของ
               ความดันอากาศเปรียบเทียบกับความสูงจึงมีความสัมพันธ์กันดังนี้

                                                dp/dz  =  -p/H                               . . . (7.2)

               เมื่ออินทิเกรดสมการ (7.2) จะได้  p   =  p e (-Z/H)                                           . . . (7.3)
                                             az
                                                   aO
               เมื่อ  p   =  ความดันอากาศที่ความสูง z จากระดับน ้าทะเลปานกลาง
                        az

                       p  =  ความดันอากาศที่ระดับน ้าทะเลปานกลาง (P  ที่ z = 0)
                                                                   a
                        aO
                       H  =  ส่วนกลับของค่าคงที่ในการลดความดันอากาศตามความสูง (scale height)



                             ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าความดันอากาศลดลงอย่างเอกซ์พอเนนเชียลที่ระดับความ

               สูง  z  =  H  ความดันที่ระดับความสูงนี้จะมีค่าเพียงร้อยละ  37  ของความดันที่ผิวดิน  ในท านอง
               เดียวกัน  ความหนาแน่นของอากาศจะลดลงตามความสูงเช่นเดียวกันกับความดันดังในสมการ

               (7.4)

                                               =    exp(-z/H)                        . . . (7.4)
                                              az
                                                    aO
                             จากการตรวจอากาศพบว่าความหนาของชั้นบรรยากาศประมาณ 15,000 กิโลเมตร

               ครึ่งหนึ่งของมวลของบรรยากาศอยู่ที่ความสูงเฉลี่ยประมาณ 5.5 กิโลเมตร หรือที่ความดันอากาศ


               500 มิลลิบาร์ ซึ่งมีค่าต ่ากว่า 0.001 ของรัศมีของโลกและประมาณร้อยละ 99 ของมวลอากาศอยู่ที่
               ความสูงต ่ากว่า 30 กิโลเมตรลงมาถึงระดับน ้าทะเลเท่านั้น



                             7.1.2  อุณหภูมิของอากาศ


                                 อุณหภูมิของอากาศในแต่ละพื้นที่แตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศ การใช้

               ประโยชน์ที่ดินและต าแหน่งของที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ (ภาพที่ 7.2) ในช่วงฤดูร้อน อากาศในชั้นโทร

               โปสเฟียร์จะมีอุณหภูมิสูงกว่าในช่วงฤดูหนาวถึงสองเท่า  และที่ระดับความสูงจากผิวโลกเท่ากัน
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191