Page 199 -
P. 199

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 190
















                           รูปที่ 6.25 แสดงผลลัพธที่ไดจากการกรองความถี่สูงผานดวยตัวกรองแบบเกาสเซียน

                                                 เมื่อ (ก) σ = 5 และ (ข) σ = 30

                           6.7.3  การกรองโฮโมมอรฟก



                          การกรองแบบโฮโมมอรฟก (homomorphic filtering)  เปนวิธีการกรองที่เหมาะกับ

                          ภาพที่มีชวงยานแสงภายในภาพกวาง (wide dynamic range) ภาพเหลานี้ไดแก ภาพที่
                          ถายยอนแสงนอกอาคารในวันที่แดดจา  ภาพที่ถายไดมีลักษณะมืดบริเวณหนึ่งและ

                          สวางมากอีกบริเวณหนึ่งเนื่องมาจากชวงยานแสงที่ตกกระทบเซ็นเซอรรับแสงมีชวง

                          กวาชวงยานแสงของเซ็นเซอร  รูปที่ 6.26(ก)  แสดงตัวอยางภาพที่มีชวงยานแสง

                          ภายในภาพกวาง ภาพลักษณะนี้จะมีคาความเปรียบตาง (contrast) สูงมาก ทําใหการ
                          ปรับปรุงภาพดวยวิธีฮีโตแกรมอีควอไลเซซันไมใหผลลัพธภาพที่ดี การปรับปรุงภาพ

                          ลักษณะนี้จะตองทําการบีบอัดยานชวงแสงที่ปรากฎภายในภาพใหแคบลงกอน  รวม

                          ทั้งตองทําการปรับปรุงคาความเปรียบตางในบริเวณที่มืดและที่สวางมากๆภายใน
                          ภาพไปพรอมๆ กัน รูปที่ 6.27 แสดงทรานสเฟอรฟงกชันของตัวกรองแบบโฮโมมอร

                          ฟก  ซึ่งถูกออกแบบมาใหทําการบีบอัดแสงสวางภายในภาพ  ในขณะเดียวกับที่เพิ่ม

                          ความเปรียบตางของภาพในบริเวณที่มืดและที่สวาง ทําใหเราสามารถเห็นรายละเอียด
                          ของภาพบริเวณที่มืดและที่สวางมากขึ้นดังแสดงผลลัพธภาพที่ไดในรูปที่ 6.26(ข)
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204