Page 202 -
P. 202

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       193


                                   โดย  r ′′ (x ,  ) y   และ  i′′ (x ,  ) y   เปนคาสะทอนของผิววัตถุและคาแสงของภาพหลังการ
                                   ปรับปรุงภาพดวยการกรอง    ขั้นตอนการปรับปรุงภาพดวยตัวกรองโฮโมมอรฟกซ
                                   แสดงไดดวยบล็อกไดอะแกรมในภาพที่ 6.28



                                                                                    -1
                                   f(x,y)     log       DFT        H(u,v)       DFT        exp       g(x,y)


                                      ภาพที่ 6.28 บล็อกไดอะแกรมการปรับปรังภาพดวยการกรองแบบโฮโมมอรฟกซ


                                   เนื่องจากแสงภายในภาพมักจะมีการเปลี่ยนแปลงอยางชาๆ  คาความสวางภายในภาพ

                                   จึงมีความสัมพันธกับสัญญาณความถี่ต่ําของภาพ  ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงของคา

                                   สะทอนผิวของวัตถุภายในภาพจะรวดเร็วกวา  จึงมีสัมพันธกับสัญญาณความถี่สูงภาย
                                   ในภาพ  จากเหตุผลดังกลาวตัวกรองโฮโมมอรฟกซจึงถูกออกแบบใหมีลักษณะเปน

                                   ตัวกรองความถี่สูงผาน  เพื่อลดผลกระทบจากแสง  โดยทําการบีบอัดคาแสงในยาน

                                   ความถี่ต่ํา ในขณะเดียวกับตัวกรองโฮโมมอรฟกซจะถูกออกแบบใหมีการขยายความ
                                   เปรียบตางบริเวณมืดและสวางภายในภาพอีกดวยตัวกรองที่ใชในการทําโฮโมมอร

                                   ฟกอาจเปนตัวกรองอันชารปที่กลาวไวในบทที่ 5.6 หรือเปนตัวกรองที่มีทรานสเฟอร

                                   ฟงกชันตามภาพที่ 6.27  โดยตัวกรองตามภาพนี้จะสามารถเขียนใหอยูในรูปของ
                                   สมการไดดังนี้



                                                H (u ,  ) v  = (γ H  − γ L ) ⎡ ⎢ ⎣ 1 − e − (Dk  2 (u ,v  / ) D 0 2 ) ⎤                             (6.39)
                                                                                     ⎥ ⎦

                                   โดย k เปนคาคงที่ที่กําหนดความชันของกราฟทรานสเฟอรฟงกชัน และ D(u,v) เปน

                                   ระยะหางจากความถี่ (0,0)



                            แบบฝกหัด



                                   1.  เขียนคําสั่ง MATLAB เพื่อสรางสัญญาณ 1 มิติที่กําหนดโดยสมการตอไปนี้
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207