Page 91 -
P. 91

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    78



                   นี้โดยการประเมินวัตถุประสงคและแผนงานของบริษัท โดยดูจากผลของการตรวจสอบ การ

                   ตรวจสอบที่ดีควรจะรวมการประเมินตลาดภายนอกเหมือน ๆ กับการดําเนินการภายใน


                   การตรวจสอบภายนอก

                   (External Audit)

                          สิ่งที่ควรจะตรวจสอบตลาดภายนอก (ภาพ 4-5) คือ อุปสงคในแตละระดับการบริการลูกคา

                   ในแตละตลาด ความตองการของตลาด และคูแขงขัน

                                 1.  การบริการลูกคา  (Customer Service)  การบริการลูกคาเปนสิ่งสําคัญที่ตอง
                   ตัดสินใจเพราะเกี่ยวของกับจํานวนสินคาขาดมือ  (Out of Stock) ความสมบูรณของคําสั่งซื้อ (Order

                   Completeness)  จํานวนรอยละข องหนวยผลิตภัณฑที่ถูกสั่งซื้อที่สามารถสงไปใหลูกคาไดตั้งแต

                   เริ่มแรก รอบระยะเวลาของการสั่งซื้อ  (Order  Cycle Time)  ความหลากหลายของผลิตภัณฑ

                   (Variability) ระยะเวลารอคอยที่ผูบริโภคคาดหวังไว  (Lead Time) รวมถึงความแตกตางของเวลาที่
                   สามารถสงมอบจริง ความถูกต องแมนยําของระบบ  (System Accuracy)  ความสามารถในการสง

                   ผลิตภัณฑและใบกํากับสินคาไดถูกตอง ความสามารถในขอมูลขาวสาร  (Information Capability) ที่

                   อาจจะรวมถึงความสามารถในการตรวจสอบสินคา ณ เวลาที่ไดรับคําสั่งซื้อสถานภาพของคําสั่งซื้อ
                   ขอมูลขาวสารลวงหนาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของราคา และการสงสินคา

                                 2.  ความตองการของตลาด  (Market Requirement)  เปนสิ่งสําคัญที่ตองตัดสินใจ

                   เกี่ยวกับระดับของคุณภาพของสินคาและความคงอยูของสายผลิตภัณฑ ทั้งการหาตลาดใหมที่มี
                   ศักยภาพ สําหรับสินคา และการเลือกทําเลที่ตั้งของตลาด นโยบายราค าและการสงเสริมการตลาด

                   ทั้งการระบุสวนตลาดสําหรับสินคาของบริษัท ความตองการของตลาดแตกตางกัน ความยืดหยุน

                   ของอุปสงคแตกตางกัน ซึ่งจะทําใหตองใชกลยุทธทางการตลาด แบบผสมผสานมีความแตกตางกัน
                   ไปดวย

                                 3.  คูแขงขัน รวมถึงขอมูลเฉพาะของบริษัท เชนระดับการบริการลู  กคาของคู

                   แขงขัน จุดแข็งและจุดออน นโยบายและรูปแบบลอจิสติกส


                   ขอบเขตของกิจกรรมลอจิสติกสที่สามารถปรับปรุงได

                   (Areas in Which Logistics Performance Can Be Improved)


                          ในการพิจารณาขอบเขตของกิจกรรมการจัดลอจิสติกสที่สามารถปรับปรุงได ในทางปฏิบัติ
                   จะสงผลกระทบตอตนทุน รวมถึงกําไรขององคกรก็คือกิจกรรมในลอจิสติกส 7 กิจกรรม ดังนี้
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96