Page 87 -
P. 87

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    74



                   ทั้งหมด และกิจกรรมการจัดลอจิสติกสแตละกิจกรรมในเบื้องตน กับการจัดการความตองการใช

                   ขอมูลขาวสารเพื่อปรับปรุงการดําเนินงานของบริษัทใหเกิดการประหยัดตนทุนในกระบวนการและ
                   การดําเนินงาน

                          จากคศ. 1970 หนาที่ของลอจิสติกสเปนเรื่องของ ขอบเขตการประหยัดใหได เชน วางแผน

                   ไววาจะประหยัดตนทุนลอจิสติกส 15 ลานดอลลารในแตละป ดวยถึงการประหยัดคาใชจายในการ

                   ดําเนินงาน  9 ลานดอลลาร และลดตนทุนการถือครองสินคาลงอีก   6 ลานดอลลาร โดยการลด
                   จํานวนสินคาคงคลังใหนอยลง สมาชิกของการจัดการไดทํารายงานตาง ๆ ขึ้นดังนี้

                          สําหรับการทําใหหนาที่ของลอจิสติกสประสบผลสําเร็จอยางถูกตองนั้น จะตองทิ้งความคิด

                   เรื่องเครื่องมือในการวัดตนทุนแบบเกา และระดับผลงานสามารถเปลี่ยนไปสูแนวความคิดใน

                   ลอจิสติกส (PD. Concept : Logistics Concept)) ในขณะนี้ยังไมสายเกินไปที่จะพูดถึงสิ่งตอไปนี้
                                 1.  ตนทุนการขนสงสําหรับฝายขนสง

                                 2.  ตนทุนการคลังสินคาสําหรับหนาที่ของคลังสินคา

                                 3.    ตนทุนในการดําเนินงานสําหรับหนวยงานอิสระแตละหนวย เชน

                   กระบวนการสั่งซื้อ หรือกระบวนการแลกเปลี่ยนขาวสารขอมูลทางอิเลคทรอนิค (Electronic Data
                   Interchange : EDI)



                          แนวทางที่ทําใหลอจิสติกสมีตนทุนต่ําสุด คือพยายามทําใหตนทุนตาง ๆ เหลานี้มี
                   ความสัมพันธกัน ไมเปนอิสระแกกัน และใหมีตนทุนทั้งหมดต่ําสุด คือ ตนทุนคาขนสง การ

                   คลังสินคา การบริการลูกคา และกระบวนการของขอมูล โดยคาดหวังวาสามารถจะจัดการลอจิ

                   สติกสใหเกิดประสิทธิผลในระบบทั้งหมดของลอจิสติกส  ไปสูพอคาคนกลางและผูบริโภคคน

                   สุดทาย เรียกวาเปนวัตถุประสงคเพื่อใหได   “ผลิตภัณฑมากที่สุด ณ ตนทุนทั้งหมดต่ําสุด  ”
                   (Maximum Product Availability at Minimum Overall Cost)

                          ในกลางทศวรรษ 1970-1980 บริษัทขยายหนาที่และการกระจายสินคาไปยังการจัดซื้อและ

                   การหมุนเวียนของวัตถุดิบภายใน ทําใหเปนองคกรการจัดลอจิสติกสแบบผสมผสานเปนหนึ่งเดียว

                   ได องคกรรับโครงสรางการสั่งซื้อจากศูนยกลาง และลดจํานวนเครื่องจักรไดมากกวารอยละ   50
                   เปนการผูกความสัมพันธที่ใหแนนแฟนขึ้น ดวยการเลือกเครื่องจักรและการปรับปรุงระบบขอมูล

                   ขาวสาร

                          ระบบนี้รวมเอามุมมองของชองทางลอจิสติกสทั้งหมด คือ การสงสินคาทางตรงไปสูคน

                   กลางเพิ่มขึ้น 4 เทา เพิ่มการหมุนเวียนของสินคาคงคลัง ณ ระดับพอคาสงจาก  4.3 เปน 10.8 เทา ผล
                   สุดทายองคกรลงทุนมากขึ้นในเท คโนโลยีการผลิตสมัยใหมที่ทําใหระยะเวลาการผลิตสั้นลง ณ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92