Page 75 -
P. 75

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    62



                   ระยะเวลาสงมอบสินคาลดลง สินคาจะมีการหมุนเวียนเพิ่มขึ้นและลดระดับสินคาคลังสินคาลง

                   เหลานี้ทําใหตนทุนการคลังสินคาต่ําลงได


                   ตนทุนการจัดการสินคาคงคลัง

                   (Inventory Management Cost)

                          ตนทุนการจัดการสินคาคงคลังจะประกอบดวยตนทุนอีก  2  ประเภท คือ ตนทุนการผลิต

                   สินคาแตละครั้งและตนทุนการถือครองสินคาคงคลัง ดังจะกลาวถึงรายละเอียดดังตอไปนี้

                          1. ตนทุนการผลิตสินคาแตละครั้ง (Lot Quantity Costs)

                                 ตนทุนการผลิตสินคาแตละครั้งมีความสัมพันธกับการผลิต/การจัดซื้อและการ
                   สั่งซื้อของลูกคา ตนทุนนี้ประกอบดวย

                                 1. ตนทุนการเตรียมการผลิต (Production Preparation Costs) ไดแก

                                         ก.   ตนทุนอันเกิดจากการรอเวลาในการเตรียมเครื่อง  (Setup Time)  ให
                   พรอมสําหรับการผลิต ขึ้นอ ยูกับเครื่องจักร เชน อาจจะตองใชเวลา  24 ชั่วโมง 48 ชั่วโมง ทําใหไม

                   สามารถผลิตสินคาไดทันที เชน ตนทุนการเตรียมเตาอบใหมีอุณหภูมิเหมาะแกการเผาในการผลิต

                   สุขภัณฑ
                                         ข.  ตนทุนการตรวจสอบ (Inspection) ความพรอมของเครื่องจักรกอนผลิตจริง

                                         ค.  ตนทุนการเตรี ยมวัสดุอุปกรณ  (Setup Scrap)  และวัตถุดิบ  (Raw

                   Materials) เพื่อการผลิตครั้งแรกที่ตองสูญเปลาไปอันเนื่องมาจากเริ่มการผลิต
                                         ง.  ตนทุนสินคาอันเนื่องมาจากการขาดประสิทธิภาพในการผลิตเริ่มแรก

                   (Inefficiency of Beginning Operation) เนื่องจากยังขาดความคงที่และส ม่ําเสมอของทั้งเครื่องจักร

                   และบุคลากรทําใหผลิตภัณฑมีตําหนิ ชํารุด แตกราว คุณภาพต่ํากวามาตรฐาน

                                 2. ตนทุนการสูญเสียกําลังการผลิตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับวัตถุดิบ

                   (Materials Handling Scheduling and Expediting)  เปนคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการจัดซื้อวัตถุดิบ การ
                   รักษาคุณภาพ คุณลักษณะของวัตถุดิบในขณะรอเขาสูกระบวนการผลิต และการสํารองวัตถุดิบเขาสู

                   ระบบการผลิตตามตารางการผลิต

                                 ตนทุนการเตรียมการผลิตและตนทุนการสูญเสียกําลังการผลิตเปนตนทุนที่ผูผลิต

                   ทุกคนยอมรับและกําหนดไวในแผนการผลิตของฝายผลิต องคกรสามารถประมาณการตนทุนอื่น ๆ
                   โดยการแบงแยกตนทุนสวนเพิ่มทั้งหมด (Incremental Total Cost) ณ ระดับของกิจกรรมที่แตกตาง

                   กัน ตามปริมาณการผลิต  2 ระดับ โดยบริษัทจะใชการวิเคราะหการถดถอย  (Regression Analysis)

                   เพื่อที่จะหาความสัมพันธของตนทุนคงที่ และตนทุนผันแปร  (ตัวแปรอิสระ)  กับปริมาณการผลิต
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80