Page 80 -
P. 80

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    67



                          ในทํานองเดียวกัน นโยบายของผูผลิตในการลดระดับสินคาคงคลังตามอําเภอใจ จะสงผล

                   ใหการหมุนเวียนของสินคาคงคลังเพิ่มขึ้น ในการอาศัยการเปลี่ยนแปลงของระบบลอจิสติกส
                   อาจจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตนทุนการขนสง และ/หรือตนทุนการเตรียมเครื่อง ณ ระดับสินคา

                   คงคลังลดลง สมมุติวา บริษัทมีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลในลอจิสติกสเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง

                   ในนโยบายนี้ ทางเลือกอื่น ๆ คือ ความกดดันที่จะทําใหสวนลดตางๆ ที่ใหแกคนกลางลดลงหรือ
                   ตนทุนการเตรียมเครื่องเพื่อการผลิตเพิ่มขึ้น จะเปนความกดดันในการลดระดับการบริการลูกคา ให

                   สอดคลองกับระดับสินคาคงคลัง ในกรณีนี้อาจจะสงผลใหสวนครองตลาดลดลงไดในที่สุด

                          อยางไรก็ตาม ถาการจัดการไดรวมเอาระบบการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับปรุงการจัดการ

                   ลอจิสติกสใหมีประสิทธิภาพ การเปลี่ยนแปลงนี้อาจจะตอบสนองตอวัตถุประสงคทั้งหมดของ
                   องคกรได เชน บริษัทจํานวนมากจะเปลี่ยนแปลงโดยใชเทคโนโลยีใหมในกระบวนการสั่งซื้อและ

                   ระบบขอมูล แทนที่กระบวนการสั่งซื้อที่ลาสมัย ผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนี้ คือ

                                 1.  เพิ่มระดับการบริการลูกคา
                                 2.  ระดับสินคาคงคลังลดลง

                                 3.  ระยะเวลาการเก็บเงินเร็วขึ้น

                                 4.  ลดจํานวนคําสั่งซื้อที่สูญหาย
                                 5.  ลดตนทุนการขนสงดวยการใชระบบการขนสงรวม

                                 6.  ลดตนทุนการคลังสินคา

                                 7.  ปรับปรุงการพยากรณใหแมนยําขึ้น และการวางแผนการผลิตที่แมนยํามากขึ้น

                                 8.   ปรับปรุงในการหมุนเวียนของเงินสดและผลตอบแทนของสินทรัพยสูงขึ้น


                   แบบจําลองกําไรเชิงกลยุทธ

                   (The Strategic Profit Model)

                          ในการศึกษาถึงแบบจําลองกําไรเชิงกลยุทธนั้น  เปนการศึกษาเกี่ยวกับผลตอบแทนตอ

                   มูลคาสุทธิ  (Return on Net Worth) โดยพิจารณาถึงผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงระบบการจัด

                   ลอจิสติกสกับกําไรสุทธิ  (Net Profit)  อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย   (Asset  Turnover)   และ
                   ผลตอบแทนตอสินทรัพย    (Return on Assets)  ดังตอไปนี้

                                 1.  กําไรสุทธิ  (Net Profit)  เปรียบเทียบเปนรอยละกับยอดขาย  ซึ่งเปนเครื่องวัด

                   ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงานของธุรกิจ  อยางไรก็ตาม  กําไรสุทธิแตเพียงอยาง
                   เดียวอาจจะไมใชเครื่องวัดที่ดีที่สุดแตเพียงอยางเดียวเทานั้น  แตตองพิจารณาในอนาคตถึงนโยบาย

                   ธุรกิจ วิสัยทัศนของผูบริหาร  สภาพแวดลอมภายในและภายนอก  เปนตน  ที่จะสงผลตอกําไรและ
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85