Page 26 -
P. 26

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การวิเคราะหทางจลนพลศาสตร                                                       17





                              ในการสรางกฎอัตราอินทิเกรต  จะเริ่มจากกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล  และแกสมการดิฟเฟอ
                       เรนเชียลโดยใชหลักการทางคณิตศาสตร        การแกสมการดิฟเฟอเรนเชียลทางจลนพลศาสตร

                       โดยทั่วไปอาจทําได 2  รูปแบบที่แตกตางกันจากการกําหนดตัวแปรของความเขมขนในสมการดิฟ

                       เฟอเรนเชียล คือ
                              วิธีที่ 1 ใชตัวแปรความเขมขนทั่วๆ ไป เชน [A] เปนความเขมขนของสาร A ที่เวลา t ใดๆ

                              วิธีที่ 2 ใชตัวแปรในรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความเขมขน เชน x เปนความเขมขนของสาร

                       ตั้งตน A ที่ลดลงที่เวลา t ดังนั้นความเขมขนของสาร A ที่เวลา t เปน [A]  – x หรือ a  – x เมื่อ [A]
                                                                                                         0
                                                                                             0
                                                                                   0
                       หรือ a เปนความเขมขนของสารตั้งตน A ที่จุดเริ่มตน
                            0
                              ดังนั้นความแตกตางของสมการดิฟเฟอเรนเชียลคือรูปแบบของตัวแปร  แตความหมายคง
                       เดิม  เชนเดียวกับกฎอัตราอินทิเกรตที่ไดรับหลังจากการแกสมการแลว  จะมีความหมายเหมือนกัน

                       แมวารูปแบบในการคํานวณของวิธีที่ 1  จะดูเหมือนงายตอการคํานวณ  แตวิธีที่ 2  เปนวิธีที่นิยม

                       แพรหลาย เนื่องจากสามารถนําไปประยุกตไดงายกวาในกรณีที่ปฏิกิริยาซับซอนขึ้น เชน ปฏิกิริยาที่
                       ขึ้นกับสารตั้งตนมากกวา 1  ชนิด  เปนตน  อยางไรก็ตามในที่นี้จะแสดงการคํานวณทั้งสองวิธีเพื่อ

                       เปรียบเทียบใหเห็นชัดเจนขึ้น


                       ในกรณีของปฏิกิริยางายๆ คือ กรณีที่มีสารตั้งตนเพียงชนิดเดียว เชน

                                                                   ′ k
                                                       aA       ⎯ ⎯→  products


                       วิธีที่ 1

                       ใหความเขมขนของสารตั้งตน A ที่จุดเริ่มตนและที่เวลา t ใดๆ  =  [A]  และ [A] ตามลําดับ
                                                                                0
                       จากกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลของปฏิกิริยาอันดับ n คือ

                                                     1 d[A]
                                                                               n
                                                   –              =      k′[A]
                                                     a dt
                                                     d[A]

                       เมื่อ k = k′a, จะได        –              =      k [A] n                  (2.1)
                                                      dt
                                                     [A]  d [A]            t
                       จัดรูปใหมและอินทิเกรต จะได   – ∫    n   =       k∫
                                                                            dt
                                                     [A] 0  [A]           0
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31