Page 23 -
P. 23
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2
_____________________________________________________________________
การวิเคราะหผลทางจลนพลศาสตร
Analysis of Kinetic Results
_____________________________________________________________________
อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเขมขนของสารตั้งตนในรูปของกฎอัตรา (rate law) และ
ไดมาจากการทดลอง จุดประสงคในการหากฎอัตรามี 3 ประการ คือ
ก. เพื่อทํานายอัตราการเกิดปฏิกิริยา องคประกอบ (composition) ของสารผสม (mixture)
และคาคงที่อัตรา (rate constant)
ข. กฎอัตราจะเปนตัวชี้แนะกลไกของปฏิกิริยา และกลไกที่คาดหวังนําไปสูกฎอัตราที่
สังเกตไดจากการทดลอง โดยที่ขั้นกําหนดอัตราคือขั้นตอนที่เกิดขึ้นชาสุด สําหรับคาคงที่อัตรามักมี
คานอยที่สุดเชนกัน
ค. กฎอัตราสามารถใชเปนตัวจัดประเภทของปฏิกิริยาจากอันดับ (order) ของปฏิกิริยา
โดยที่อันดับ (order) ของ สารตั้งตนหนึ่งๆ คือ ตัวเลขยกกําลัง (power) ของความเขมขนของสารตั้ง
ตนที่ไดจากกฎอัตรา และอันดับรวม (overall order) คือ ผลรวมจากอันดับขององคประกอบตางๆ
ของสารตั้งตน
กฎอัตรามี 2 แบบ คือ กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล (differential rate law) และ กฎอัตราอินทิ
เกรต (integration rate law) ดังรายละเอียดตอไปนี้