Page 18 -
P. 18
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
บทนํา 9
วิธีทํา เนื่องจากขั้นตอนที่ (1.2) ชา จะไดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเทากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของ
ขั้นตอนที่ชาคือ
R = R = k [NO ] [NO] (1.3)
2
2
3
[NO ]
จากสมการ (1.1), K = 3 แทนคา [NO ] ในสมการ (1.3) จะได
3
[NO] [O 2 ]
2
R = K k [NO] [O ]
2
2
แสดงวากลไกที่คาดอาจจะถูกตอง เพราะกฎอัตราที่คาดตรงกับกฎอัตราจากการทดลอง โดยที่
คาคงที่อัตรา k = K k 2
_____________________________________________________________________
1.7 อิทธิพลของอุณหภูมิที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา (Influence of
Temperature on Reaction Rate)
ปฏิกิริยาเคมีสวนใหญจะมีคาคงที่อัตราที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ตาม
สมการอารเรเนียส (Arrhenius equation) คือ
⎛ E a ⎞
k = A exp ⎜ − ⎟ (1.4)
⎝ RT ⎠
เมื่อ k = คาคงที่อัตรา (rate constant) ที่อุณหภูมิหนึ่งๆ
A = คาคงที่สําหรับปฏิกิริยาหนึ่งๆ เรียกวา แฟกเตอรแหงความถี่ (frequency factor) หรือ
คาพรีเอกซโพเนนเชียล (pre-exponential factor)
E = พลังงานกระตุน (activated energy) มีหนวย J mol โดยถือวา E ไมขึ้นกับอุณหภูมิ
-1
a
a
ในชวงที่ศึกษา
-1
R = คาคงที่ของแกส = 8.314 J K mol
-1
T = อุณหภูมิสัมบูรณในหนวยเคลวิน (K)
สมการ (1.4) แสดงใหเห็นวาคาคงที่อัตราขึ้นกับอุณหภูมิ ดังกราฟในรูปที่ 1.1 และเมื่ออุณหภูมิสูง
มากๆ จะไดคาคงที่อัตรา (k) มีคาเทากับคาพรีเอกซโพเนนเชียล (A)