Page 13 -
P. 13

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               4                                                                             บทที่ 1





               1.3  อิทธิพลที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา (Influences on Reaction Rate)


                       โดยทั่วไปอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับปจจัยตางๆ คือ


               1.  ชนิดของสารตั้งตน (nature of reactants)
               2.  ชนิดของตัวทําละลาย (nature of solvents)

               3.  ความเขมขน (concentration) หรือ ความดัน (pressure) ในกรณีที่มีสถานะเปนแกส

               4.  อุณหภูมิ (temperature)
               5.  ตัวเรงปฏิกิริยา (catalysts)

               6.  ขนาดของอนุภาคในกรณีที่เปนปฏิกิริยาวิวิธพันธุ (heterogeneous reactions)

                   หรือ พื้นที่ผิวสัมผัสระหวางวัฏภาค (phases) ที่ตางกัน
                       ปจจัยตางๆ  เหลานี้  จะอยูในรูปของคาคงที่อัตรา (ยกเวนความเขมขนของสาร)  ในสมการ

               อัตราที่แสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยาและความเขมขนของสาร



               1.4  สมการอัตราแบบเอมพิริคัล (Empirical Rate Equations)


                       สมการอัตราแบบเอมพิริคัล คือ สมการที่แสดงใหเห็นวาอัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) ขึ้นกับ
               ผลคูณของความเขมขนของสารตั้งตนยกกําลังดวยตัวเลขใดๆ  ที่ไดจากการทดลอง  ดังนั้นสมการ

               อัตราแบบเอมพิริคัลจึงแสดงอิทธิพลของความเขมขนที่มีตออัตราการเกิดปฏิกิริยา



               ตัวอยางปฏิกิริยาตอไปนี้


                                      a A  +  b B  +  ...   ⎯ →⎯    e E  +  f F  +  ...



               มีกฎอัตรา (rate law) หรือ สมการอัตรา (rate equation) ดังนี้
                                                                     q
                                                                 p
                                                   R     ∝    [A]  [B] ...

                                                                       q
                                                                   p
                                                   R     =    k [A]  [B]  …
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18