Page 12 -
P. 12
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
บทนํา 3
อยางไรก็ตามนักเคมีมักใชในรูปของอัตราการเกิดปฏิกิริยาตอปริมาตร (reaction rate per
volume or rate of reaction per volume, R) หรืออยูในรูปการเปลี่ยนแปลงความเขมขน ดังนั้น อัตรา
การเกิดปฏิกิริยา R จึงไมขึ้นกับปริมาณสาร
J 1 dn 1 dn
R = = – A = – B = ........ (กรณีสารตั้งตน)
V Va dt Vb dt
1 Cd 1 Cd
= – A = – B = ........
a dt b dt
1 d[A] 1 d[B]
= – = – = ........
a dt b dt
1 d[E] 1 d[F]
= = = ........ (กรณีผลิตภัณฑ)
e dt f dt
d 1 ξ
=
V dt
เมื่อ C หรือ [A] , C หรือ [B] , … = ความเขมขนของสารตั้งตน A, B, ... ตามลําดับ
A
B
[E] , [F] , … = ความเขมขนของผลิตภัณฑ E, F, … ตามลําดับ
V = ปริมาตร
d[A] d[B]
– , – , … = อัตราการลดลง (rate of consumption or disappearance) ของสาร A, B, ...
dt dt
ตามลําดับ
d[E] d[F]
, , … = อัตราการเกิด (rate of formation) ของสารE, F, … ตามลําดับ
dt dt
ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่อยูในรูปของการเปลี่ยนแปลงความเขมขน จะมีหนวยเปน
[ความเขมขน][เวลา] สวนในกรณีของแกสอัตราการเกิดปฏิกิริยาอาจอยูในรูปของการ
-1
เปลี่ยนแปลงของความดันหรือปริมาตรไดอีกดวย