Page 140 -
P. 140
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การเรงปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ 131
(6.59) แสดงความสัมพันธเชิงเสนตรงระหวางสวนกลับของจํานวนโมลของตัวถูกดูดซับบนพื้นผิว
ของตัวดูดซับที่มีน้ําหนัก 1 กรัม (1/n) และสวนกลับของความเขมขนที่จุดสมดุลของสารละลายของ
ตัวถูกดูดซับ (1/C) ที่มีความชันเปน 1/(Kn ) และจุดตัดแกน 1/n หรือแกน y เทากับ 1/n mon ดัง
mon
แสดงในรูปที่ 6.7 ดังนั้นทุกสมการของไอโซเทอรมแลงเมียร แสดงใหเห็นวาการดูดซับของตัวถูก
ดูดซับบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่เปนของแข็งจะเพิ่มขึ้น เมื่อความเขมขนที่จุดสมดุลของสารละลาย
ของตัวถูกดูดซับเพิ่มขึ้น
รูปที่ 6.6 ไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับของตัวถูกดูดซับในรูปสารละลายบนพื้นผิวของตัว
ดูดซับที่เปนของแข็ง ในรูปความสัมพันธระหวางอัตราสวนของความเขมขนที่จุดสมดุล
ของสารละลายของตัวถูกดูดซับตอจํานวนโมลของตัวถูกดูดซับที่ดูดซับบนพื้นผิวของตัว
ดูดซับที่มีน้ําหนัก 1 กรัม (C/n) และ ความเขมขนที่จุดสมดุลของสารละลายของตัวถูกดูด
ซับ (C)
C / n
3.00
2.00
1.00
0.00 C
0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 0.30