Page 139 -
P. 139
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
130 บทที่ 6
แทนคา K จากสมการ (6.4) ในสมการ (6.56) จะได
K C (1 – θ) = θ
K C
จัดรูปใหม จะได θ = (6.57)
K 1 + C
สมการ (6.57) คือ ไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับของตัวถูกดูดซับที่อยูในรูปสารละลายบน
พื้นผิวของตัวดูดซับที่เปนของแข็ง และมีรูปสมการคลายกับไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับ
ของแกสบนพื้นผิวของตัวดูดซับในสมการ (6.12) คือ
K p
θ = (6.12)
1 + K p
แทนคา θ จากสมการ (6.52) ในสมการ (6.57) จะได
n K C
=
n mon K 1 + C
C K 1 + C
จัดรูปใหม จะได =
n K n mon
C 1 C
และ = + (6.58)
n K n mon n mon
1 1 1
หรือ = + (6.59)
n n K mon C n mon
สมการ (6.57), (6.58) และ (6.59) คือ ไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับของตัวถูกดูดซับที่อยูใน
รูปสารละลายบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่เปนของแข็ง โดยที่สมการ (6.57) แสดงใหเห็นวา เศษสวน
ของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) แปรตามความเขมขนที่จุดสมดุลของสารละลายของตัวถูกดูดซับ (C)
สวนสมการ (6.58) แสดงความสัมพันธเชิงเสนตรงระหวางอัตราสวนของความเขมขนที่จุดสมดุล
ของสารละลายของตัวถูกดูดซับตอจํานวนโมลของตัวถูกดูดซับที่ดูดซับบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่มี
น้ําหนัก 1 กรัม (C/n) และความเขมขนที่จุดสมดุลของสารละลายของตัวถูกดูดซับ (C) ที่มีความชัน
เปน 1/n และจุดตัดแกน C/n หรือแกน y เทากับ 1/(Kn ) ดังแสดงในรูปที่ 6.6 และสมการ
mon
mon