Page 137 -
P. 137
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
128 บทที่ 6
2. กรณีการดูดซับของตัวถูกดูดซับที่แตกตัวได จะไดคา θ ขึ้นกับความดัน p นอยกวา
การดูดซับของตัวถูกดูดซับที่ไมแตกตัว ยกเวนกรณีที่มีคา K ต่ํา (เชน 0.1 atm ) ดังแสดงในรูปที่
-1
6.5 จะเห็นวาคา θ ของตัวถูกดูดซับที่แตกตัวจะมีคานอยกวาคา θ ของตัวถูกดูดซับที่ไมแตกตัว ณ
ความดันและคา K เดียวกัน
รูปที่ 6.5 ไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่เปนของแข็งของตัวถูก
ดูดซับที่ไมแตกตัว (เสนทึบ) และตัวถูกดูดซับที่แตกตัวได (เสนประ) ในรูป
ความสัมพันธระหวางเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) และความดัน (p)
θ
-1
1.0 K = 10 atm
-1
K = 1 atm
-1
0.5 K = 0.1 atm
0.0 p / atm
012 34567 89 10
6.3.4 ไอโซเทอรมแลงเมียรของตัวถูกดูดซับที่เปนสารละลาย
ในการพิจารณาไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับของตัวถูกดูดซับ (adsorbate) ที่เปน
สารละลาย บนพื้นผิวของตัวดูดซับ (adsorbent) ที่เปนของแข็ง โดยใชตัวอยางการดูดซับของ
สารละลาย A บนพื้นผิวของตัวดูดซับ M ที่มีสมดุลระหวางการดูดซับและการหลุดออกจากพื้นผิว
ของโมเลกุลที่ถูกดูดซับ AM ดังสมการตอไปนี้
A(aq) + M(surface) k a AM(surface) (6.50)
k d
โดยที่ k , k = คาคงที่อัตราของการดูดซับและการหลุดออกจากพื้นผิวของ A ตามลําดับ
a d
k
และ K = สัมประสิทธิ์ของการดูดซับ = a (6.4)
k d