Page 138 -
P. 138
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การเรงปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ 129
เริ่มจากสมการดิฟเฟอเรนเชียลของการดูดซับของ A ในสมการ (6.50) คือ
d [AM]
= k [A] [M] – k [AM] (6.51)
d
a
dt
เมื่อ [A], [M], [AM] = ความเขมขนในรูปจํานวนโมลตอปริมาตรของสาร A, M และ AM
ตามลําดับ ที่เวลา t
จากนิยามของเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) ในสมการ (6.1) แตเปลี่ยนจํานวนโมเลกุลที่
ถูกดูดซับบนพื้นผิวดวยจํานวนโมลของตัวถูกดูดซับบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่มีน้ําหนัก 1 กรัม จะ
ไดเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) ดังสมการตอไปนี้
n
θ = (6.52)
n mon
เมื่อ n = จํานวนโมล AM ของตัวถูกดูดซับบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่มีน้ําหนัก 1 กรัม
n = จํานวนโมล AM ของตัวถูกดูดซับบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่มีการดูดซับไดสมบูรณ
mon
เพียงชั้นเดียวบนตัวดูดซับที่มีน้ําหนัก 1 กรัม
จากสมการ (6.52) จะได [AM] = θ (n / V) (6.53)
mon
และ [M] = (1 – θ) (n / V) (6.54)
mon
เมื่อ V = ปริมาตรของสารละลาย
แทนคา [AM] และ [M] ในสมการ (6.51) จะได
dθ
(n / V) = k [A](1 – θ) (n / V) – k θ (n / V)
a
d
mon
mon
mon
dt
dθ
= k [A] (1 – θ) – k θ (6.55)
a
d
dt
dθ
ที่จุดสมดุล = 0 และให C = ความเขมขนที่จุดสมดุลของสารละลาย A ดังนั้นสมการ (6.55) จะ
dt
เปลี่ยนเปน
0 = k C (1 – θ) – k θ
d
a
หรือ k C (1 – θ) = k θ (6.56)
a
d